แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

ความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการฆ่าตัวตายในผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพจิตที่เกี่ยวข้องกับสุรา

dc.contributor.authorจุฑามาศ หน่อตุ่นth_TH
dc.contributor.authorJutamas Nortunen_US
dc.contributor.authorชนากานต์ เจนใจth_TH
dc.contributor.authorChanakan Jenjaien_US
dc.contributor.authorชิดชนก เรือนก้อนth_TH
dc.contributor.authorChidchanok Ruengornen_US
dc.date.accessioned2016-06-17T09:51:03Z
dc.date.available2016-06-17T09:51:03Z
dc.date.issued2559-06
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 10,2 (เม.ย.-มิ.ย. 2559) : 137-151th_TH
dc.identifier.issn0858-9437
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/4444
dc.description.abstractปัญหาพฤติกรรมการบริโภคสุราเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขเนื่องจากเพิ่มความเสี่ยงของพฤติกรรมการฆ่าตัวตาย การศึกษาแบบภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับความคิดและการพยายามฆ่าตัวตายในผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพจิตที่เกี่ยวข้องกับสุรา กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยจำนวนทั้งหมด 303 รายที่ได้รับการวินิจฉัยว่ามีปัญหาสุขภาพจิตที่เกี่ยวข้องกับสุรา ตามเกณฑ์วินิจฉัยโรค ICD -10 รหัส F10.XX และเข้ารับการรักษาเป็นผู้ป่วยในระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2555 ถึง 30 กันยายน 2556 เก็บข้อมูลปัจจัยต่างๆจากเวชระเบียนของโรงพยาบาลสวนปรุง ผลการศึกษาพบว่า ความชุกของความคิดฆ่าตัวตายและการพยายามฆ่าตัวตายคือร้อยละ 22.4 และ 5.0 ตามลำดับ ปัจจัยที่สัมพันธ์กับความคิดฆ่าตัวตายได้แก่ การมีปัญหาโรคร่วมทางจิต (adjusted OR=2.58 95% CI; 1.14-5.85, p-value=0.023) การมีความคิดและการพยายามฆ่าตัวตายก่อนหน้า (adjusted OR=3.00 95% CI; 1.40-6.40, p-value=0.004 และ 4.27 95% CI; 2.31-8.94, p-value<0.001 ตามลำดับ) จำนวนปัญหาหรือเหตุการณ์ในชีวิตมากกว่า 2 เหตุการณ์ (adjusted OR=4.36 95% CI; 1.53-12.41,p-value =0.006)และ 2 เหตุการณ์ (adjusted OR=3.22 95% CI; 1.08-9.57, p-value=0.036) การดื่มสุราขาว (adjusted OR=3.10 95% CI; 1.33-7.20, p-value =0.009) สำหรับปัจจัยที่สัมพันธ์กับการพยายามฆ่าตัวตายได้แก่ การพยายามฆ่าตัวตายก่อนหน้าและปัญหาโรคร่วมทางจิต (adjusted OR=4.36 95% CI; 1.53-12.41, p-value =0.006 และ 3.22 95% CI; 1.08-9.57, p-value=0.036 ตามลำดับ) สรุป ผู้ป่วยที่มีปัญหาดื่มสุราและมีความคิดหรือมีการพยายามฆ่าตัวตายมาก่อน ที่มีปัญหาโรคร่วมทางจิต และผู้ที่มีปัญหาในชีวิตมากกว่า 2 เหตุการณ์ขึ้นไป ควรได้รับการเฝ้าระวังพฤติกรรมการฆ่าตัวตายอย่างใกล้ชิดth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectการฆ่าตัวตายth_TH
dc.subjectสุขภาพจิต--การดูแลth_TH
dc.titleความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการฆ่าตัวตายในผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพจิตที่เกี่ยวข้องกับสุราth_TH
dc.title.alternativePrevalence and Factors Associated with Suicidal Behavior in Patients with Mental and Behavioral Disorder Due to Alcoholen_US
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeAlcohol-drinking is one of the most important public health problems related to an increase risk of suicidal behaviors. The objectives of this cross-sectional analytical study were to determine the prevalence and factors associated with suicidal ideation and suicide attempt in mental and behavioral disorder due to use of alcohol. Subjects were 303 patients diagnosed with ICD-10 code F10.xx and admitted in Suanprung Psychiatric Hospital during 1 October 2012 to 30 September 2013. Data of various factors were collected from medical records. Results of the study revealed that prevalence of suicidal ideation and suicide attempt were 22.4% and 5.0%, respectively. Factors significantly associated with suicidal ideation were having psychological comorbidities (adjusted OR = 2.58 95% CI; 1.14-5.85, p-value = 0.023), previous suicidal ideation and previous suicide attempt (adjusted OR = 3.00 95% CI; 1.40-6.40, p-value = 0.004 and 4.27 95% CI; 2.31-8.94, p-value < 0.001, respectively), numbers of problems or life-events, more than 3 and 2 life events (adjusted OR = 4.36 95% CI; 1.53-12.41, p-value = 0.006 and 3.22 95% CI; 1.08-9.57, p-value = 0.036, respectively), and patients who drank 40 degree-rice clear liquor (adjusted OR = 3.10 95% CI; 1.33- 7.20, p-value = 0.009). Regarding factors related to suicide attempt, it is found that previous suicide attempts and psychological comorbidities were statistically significant associated with suicide attempts (adjusted OR = 4.36 95% CI; 1.53-12.41, p-value = 0.006 and 3.22 95% CI; 1.08-9.57, p-value = 0.036, respectively). In conclusion, close monitoring should be emphasized in patients who had problem associate with alcohol drinking and had previous suicidal ideation or previous suicide attempt(s), particularly in those with psychological comorbidity and had more than 2 life-events.en_US
.custom.citationจุฑามาศ หน่อตุ่น, Jutamas Nortun, ชนากานต์ เจนใจ, Chanakan Jenjai, ชิดชนก เรือนก้อน and Chidchanok Ruengorn. "ความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการฆ่าตัวตายในผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพจิตที่เกี่ยวข้องกับสุรา." 2559. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4444">http://hdl.handle.net/11228/4444</a>.
.custom.total_download2969
.custom.downloaded_today2
.custom.downloaded_this_month53
.custom.downloaded_this_year611
.custom.downloaded_fiscal_year130

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v10n ...
ขนาด: 200.8Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย