แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

อาการปวดและการทำงานของกล้ามเนื้อ คอ ไหล่ แผ่นหลังส่วนบนและแขนส่วนบน ขณะใช้งาน Smartphone ในผู้หญิงอายุ 18-25 ปี

dc.contributor.authorภัทริยา อินทร์โท่โล่th_TH
dc.contributor.authorPattariya Intoloth_TH
dc.contributor.authorณัฐชยา สิรินิลกุลth_TH
dc.contributor.authorNatchaya Sirininlakulth_TH
dc.contributor.authorณัฐริกานต์ ศักดิ์สนิทth_TH
dc.contributor.authorNattarikan Saksanitth_TH
dc.contributor.authorพิชญา คงดนตรีth_TH
dc.contributor.authorPichaya Kongdontreeth_TH
dc.contributor.authorพิมพ์พิสุทธิ์ ธุวาทรth_TH
dc.contributor.authorPhimpisut Thuwatornth_TH
dc.date.accessioned2016-09-20T04:21:05Z
dc.date.available2016-09-20T04:21:05Z
dc.date.issued2559-09
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 10,3 (ก.ค.-ก.ย. 2559) : 351-360th_TH
dc.identifier.issn0858-9437
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/4557
dc.description.abstractปัญหาสุขภาพจากการใช้ smartphone เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง การป้องกันมีความสำคัญและเร่งด่วน วัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้คือ เพื่อศึกษาอาการปวดและการทำงานของกล้ามเนื้อบริเวณคอ ไหล่ แผ่นหลังส่วนบนและแขนส่วนบน ขณะใช้งาน smartphone ต่อเนื่องกันเป็นระยะเวลา 20 นาทีในท่าที่ถือไว้ที่ตัก ระดับอก และวางราบบนโต๊ะ ในเพศหญิงอายุ 18-25 ปี จำนวน 24 คน โดยสุ่มลำดับการใช้งาน 3 ท่าทาง ประเมินตำแหน่งที่ด้วย body pain chart และประเมินระดับความรุนแรงของอาการปวดด้วย visual analog scale (VAS) และวัดคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อ (electromyography) ที่กล้ามเนื้อ cervical erector spinae (CES), upper trapezius (UT), middle trapezius (MT) และ biceps brachii (BB) ผลการศึกษาพบว่า 1) หลังการใช้งาน 20 นาที พบอาการปวดที่บริเวณ คอ ไหล่ แผ่นหลังส่วนบน และแขนส่วนบนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value<0.05) 2) พบอาการปวดคอมากที่สุด โดยปวดคอจำนวน 60 ครั้ง จากการใช้งานทั้งหมด 72 ครั้ง โดยเฉพาะท่าใช้งานที่ตัก 3) มีอาการปวดเพิ่มขึ้นทั้ง 3 ท่าทาง โดยค่าเฉลี่ยของระดับอาการปวดไม่แตกต่างกัน 4) กล้ามเนื้อ CES ทำงานเพิ่มขึ้น 50% ของการหดตัวสูงสุดของกล้ามเนื้อมัดนี้ แต่ไม่พบความแตกต่างทางสถิติของค่าการทำงานกล้ามเนื้อ CES, UT, MT ระหว่าง 3 ท่าทาง สรุปผลการศึกษาได้ว่า การใช้งาน smartphone 20 นาที ทำให้มีอาการปวดเกิดขึ้นและปวดคอมากที่สุด โดยเฉพาะท่าถือไว้ที่ตัก ขณะใช้งานจะทำให้กล้ามเนื้อคอทำงานหนักมาก ดังนั้น คณะผู้วิจัยแนะนำว่าควรหลีกเลี่ยงการใช้งานsmartphone ในท่าวางที่ตักต่อเนื่องกัน 20 นาที ซึ่งจะเป็นปัจจัยเสี่ยงให้เกิดอาการปวดคอได้th_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectปวดกล้ามเนื้อth_TH
dc.subjectปัญหาสุขภาพth_TH
dc.titleอาการปวดและการทำงานของกล้ามเนื้อ คอ ไหล่ แผ่นหลังส่วนบนและแขนส่วนบน ขณะใช้งาน Smartphone ในผู้หญิงอายุ 18-25 ปีth_TH
dc.title.alternativePain and Muscle Activity of Neck, Shoulder, Upper Back and Arm during Smartphone Use in Women Aged 18-25 Years Oldth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeAdverse health problem of smartphone use has been gradually increased. Prevention of this problem is essential and urgent. The purpose of this study was to compare the differences of pain and muscle activity at neck, shoulder, upper back and arm regions after smartphone use for 20 minutes among 3 positions (on the lap level, on the chest level and on the table). Twenty-four asymptomatic females aged 18-25 years old were recruited. The subjects were assigned to use smartphone in random order of 3 positions. Location and severity of pain were measured by using body pain chart and visual analog scale (VAS), respectively. Electromyography (EMG) was used to measure muscle activity of cervical erector spinae (CES), upper trapezius (UT), middle trapezius (MT) and biceps brachii (BB) muscles. The results showed that 1) After 20 minutes of smartphone use, pain increased significantly (p-value<0.05). 2) Pain was found apparently, mostly in neck region; participants reported pain in 60 of 72 times, particularly in the lap position. 3) Pain increased obviously in all positions; however, pain scale did not show any significant difference among 3 positions. 4) EMG of CES increased up to 50% of maximum voluntary contraction (MVC), but there was no significant difference of EMG of CES, UT, and MT among 3 positions. In summary, smartphone use longer than 20 minutes could lead to muscular pain, particularly neck pain. CES worked increasingly up to 50% of MVC. Therefore, we would recommend that to prevent the risk of musculoskeletal problems, smartphone users should avoid using this IT device continually 20 minutes, especially on the lap.th_TH
.custom.citationภัทริยา อินทร์โท่โล่, Pattariya Intolo, ณัฐชยา สิรินิลกุล, Natchaya Sirininlakul, ณัฐริกานต์ ศักดิ์สนิท, Nattarikan Saksanit, พิชญา คงดนตรี, Pichaya Kongdontree, พิมพ์พิสุทธิ์ ธุวาทร and Phimpisut Thuwatorn. "อาการปวดและการทำงานของกล้ามเนื้อ คอ ไหล่ แผ่นหลังส่วนบนและแขนส่วนบน ขณะใช้งาน Smartphone ในผู้หญิงอายุ 18-25 ปี." 2559. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4557">http://hdl.handle.net/11228/4557</a>.
.custom.total_download2822
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month19
.custom.downloaded_this_year237
.custom.downloaded_fiscal_year45

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri_journal_v10n ...
ขนาด: 176.7Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย