แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การประเมินการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับกองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า

dc.contributor.authorศิตาพร ยังคงth_TH
dc.contributor.authorSitaporn Youngkongen_EN
dc.contributor.authorสุธีนุช ตั้งสถิตย์กุลชัยth_TH
dc.contributor.authorSuteenoot Tangsathitkulchaien_EN
dc.contributor.authorวิทธวัช พันธุมงคลth_TH
dc.contributor.authorWitthawat Pantumongkolen_EN
dc.contributor.authorเพียร เพลินบรรณกิจth_TH
dc.contributor.authorPien Pleonbannakiten_EN
dc.contributor.authorยศ ตีระวัฒนานนท์th_TH
dc.contributor.authorYot Teerawattananonen_EN
dc.contributor.authorศรีเพ็ญ ตันติเวสสth_TH
dc.contributor.authorSripen Tantivessen_EN
dc.date.accessioned2017-03-31T04:30:16Z
dc.date.available2017-03-31T04:30:16Z
dc.date.issued2560-03
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 11,1 (ม.ค.-มี.ค. 2560) : 127-140th_TH
dc.identifier.issn0858-9437
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/4679
dc.description.abstractการศึกษานี้สนใจศึกษางบประมาณ 4 ส่วนที่เกิดจากวิธีการจัดสรรของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ได้แก่ งบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเพื่อเร่งรัดการเข้าถึงบริการ เพื่อชุดสิทธิประโยชน์ เพื่อการดำเนินงานในชุมชน เพื่อติดตามและประเมินผล โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการจัดสรรงบประมาณ ความพอเพียง การดำเนินกิจกรรม การติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของกองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคภายใต้หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า การศึกษานี้เป็นการศึกษาแบบย้อนหลังในปีงบประมาณ 2557 และ 2558 โดยมีจังหวัดที่เป็นกรณีศึกษา 2 จังหวัด ซึ่งคัดเลือกโดยพิจารณาข้อมูลจากเอกสารปฐมภูมิและทุติยภูมิที่เกี่ยวข้อง การศึกษานี้ใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้บริหารร่วมกับการสนทนากลุ่มผู้ปฏิบัติการที่ดำเนินงานเกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค จากการศึกษาพบว่า การดำเนินการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคมีความท้าทายอยู่มาก เนื่องจากการบริหารจัดการงบประมาณมีความเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ทำให้ยากแก่การบริหารจัดการ รวมทั้งไม่สามารถอธิบายได้ว่างบประมาณในแต่ละพื้นที่ที่ได้รับนั้น พอเพียงหรือไม่ เนื่องจากไม่มีการแยกการใช้งบประมาณเฉพาะ P&P นอกจากนี้ ยังพบว่า ผู้รับบริการไม่ตระหนักถึงความสำคัญของการเข้ารับบริการ หน่วยบริการยังขาดการนำข้อมูลเชิงวิชาการมาใช้และขาดการตรวจติดตามและประเมินผลอย่างมีประสิทธิภาพ จึงมีข้อเสนอว่า สปสช.ควรจัดทำงบประมาณขาขึ้นให้ตรงกับความเป็นจริงและมีการประชาสัมพันธ์เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการ รวมทั้งสร้างกลไกตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลเพื่อใช้ในการวางแผนการให้บริการ สำหรับหน่วยบริการควรมีการแยกงบประมาณ P&P ให้ชัดเจน และควรใช้ข้อมูลเชิงวิชาการมาสนับสนุนการดำเนินงานให้มากขึ้นด้วยth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectการสร้างเสริมสุขภาพth_TH
dc.subjectสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ--การประเมินth_TH
dc.subjectNational Health Security Office--Evaluationen_EN
dc.titleการประเมินการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับกองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าth_TH
dc.title.alternativeEvaluation of Financial Management for Health Promotion and Disease Prevention under the Universal Health Coverage: From Design to Implementationen_EN
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study focuses on four parts of health promotion and disease prevention budget under the Universal Health Coverage, including budget for solving specific health problems in the area or provinces, benefit packages, community health promotion and budget for promoting, monitoring and evaluating the program. Therefore, the objectives of the study are to evaluate the allocation in terms of sufficiency and budget implementation, as well as monitoring and evaluating process in healthcare facilities during 2014-2015. Two provincial case studies were selected and retrospective method was employed by reviewing related primary and secondary data. In-depth interviews of healthcare executives and focus group discussions with healthcare practitioners were conducted. The results showed a number of challenges due to the dynamic budget allocation that could lead to difficulties in budget management. Also, it was unable to explain whether budget in each area was sufficient due to no separated budget for P&P. Furthermore, lay people might not be aware that they were entitled to receive personal benefits from the Health Promotion and Disease Prevention Fund. Most healthcare facilities did not portray evidence-based manner to carry out and create activities regarding monitoring and evaluation program effectiveness. Therefore, the National Health Security Office should estimate the budget to meet the requirement and strengthen public relations to increase service utilization, and also set up mechanisms to verify accuracy of data in order to plan the service provision. For health facilities, the P&P budget should be explicitly separated and evidence-based academic should be used to support the implementation.en_EN
.custom.citationศิตาพร ยังคง, Sitaporn Youngkong, สุธีนุช ตั้งสถิตย์กุลชัย, Suteenoot Tangsathitkulchai, วิทธวัช พันธุมงคล, Witthawat Pantumongkol, เพียร เพลินบรรณกิจ, Pien Pleonbannakit, ยศ ตีระวัฒนานนท์, Yot Teerawattananon, ศรีเพ็ญ ตันติเวสส and Sripen Tantivess. "การประเมินการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับกองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า." 2560. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4679">http://hdl.handle.net/11228/4679</a>.
.custom.total_download975
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month8
.custom.downloaded_this_year111
.custom.downloaded_fiscal_year25

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri_journal_v11n ...
ขนาด: 720.0Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย