แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

ความเป็นธรรมในการได้รับบริการสุขภาพช่องปากของประชากรไทย: การวิเคราะห์ผลการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2560

dc.contributor.authorธีรวัฒน์ ทัศนภิรมย์th_TH
dc.contributor.authorTeerawat Tussanapiromen_EN
dc.contributor.authorวริศา พานิชเกรียงไกรth_TH
dc.contributor.authorWarisa Panichkriangkraien_EN
dc.contributor.authorวุฒิพันธุ์ วงษ์มงคลth_TH
dc.contributor.authorVuthiphan Vongmongkolen_EN
dc.date.accessioned2019-09-26T06:24:01Z
dc.date.available2019-09-26T06:24:01Z
dc.date.issued2562-09
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 13,3 (ก.ค. - ก.ย. 2562) : 271-283th_TH
dc.identifier.issn2672-9415
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5111
dc.description.abstractประเทศไทยประสบความสำเร็จในการจัดให้มีระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าแก่ประชาชนตั้งแต่ พ.ศ. 2545 ส่งผลให้ประชากรเกือบทั้งหมดมีสิทธิในสวัสดิการการรักษาทางทันตกรรมที่จัดให้โดยรัฐ แต่จากผลการสำรวจระดับประเทศที่ผ่านมานั้น การได้รับบริการสุขภาพช่องปากของประชาชนยังคงมีสัดส่วนที่ต่ำ รวมถึงยังมีปัญหาความเป็นธรรมในการได้รับบริการสุขภาพช่องปาก การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความเป็นธรรมในการได้รับบริการสุขภาพช่องปากของประชากรไทยผ่านสัดส่วนและรูปแบบการได้รับบริการสุขภาพช่องปาก รวมถึงความจำเป็นด้านสุขภาพช่องปากที่ไม่ได้รับการตอบสนองของประชากรกลุ่มต่างๆ โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2560 ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า ประชากรเพียงร้อยละ 9.6 เท่านั้นที่ได้รับบริการสุขภาพช่องปากในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา โดยรูปแบบการรับบริการเป็นไปเพื่อการรักษาถึงร้อยละ 81.6 ของการรับบริการทั้งหมด สาเหตุหลักที่ประชาชนไม่ไปรับบริการสุขภาพช่องปากก็คือ ช้าและรอนาน ในส่วนของความจำเป็นด้านสุขภาพช่องปากที่ไม่ได้รับการตอบสนองนั้น พบว่า ประชากรร้อยละ 1.4 มีความต้องการในการเข้ารับบริการสุขภาพช่องปากที่ไม่ได้รับการตอบสอง โดยกลุ่มที่ไม่มีสิทธิสวัสดิการ กลุ่มผู้สูงอายุ และกลุ่มเศรษฐฐานะต่ำที่สุดมีความจำเป็นทางสุขภาพช่องปากที่ไม่ได้รับการตอบสนองมากกว่ากลุ่มประชากรอื่นๆ ถึงสองเท่า แต่กลับเป็นกลุ่มที่ได้รับบริการสุขภาพช่องปากน้อยที่สุด ผลการสำรวจแสดงให้เห็นถึงความไม่เป็นธรรมในการได้รับบริการสุขภาพช่องปากโดยเฉพาะในกลุ่มประชากรต่างสิทธิสวัสดิการและต่างเศรษฐฐานะ สะท้อนให้เห็นความจำเป็นที่จะต้องพัฒนานโยบายสุขภาพช่องปากเพื่อให้ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน และสร้างความเป็นธรรมของระบบการให้บริการสุขภาพช่องปาก โดยเฉพาะการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพช่องปาก การสร้างความกลมกลืนระหว่างสามระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลของรัฐ และการขยายขอบเขตการให้บริการเพื่อให้ประชาชนเข้าถึงบริการที่จำเป็นได้มากขึ้นth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectทันตสุขภาพth_TH
dc.subjectOral Healthth_TH
dc.subjectอนามัย, การสำรวจth_TH
dc.subjectEquity in healthth_TH
dc.titleความเป็นธรรมในการได้รับบริการสุขภาพช่องปากของประชากรไทย: การวิเคราะห์ผลการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2560th_TH
dc.title.alternativeEquity in Utilization of Oral Health Services among Thai Population: Results from Health and Welfare Survey 2017en_EN
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeThailand has achieved Universal Health Coverage since 2002. Consequentially, almost all Thai citizens are covered with basic oral health services by publicly funded insurance schemes. However, the proportion of Thais who receive such services is still low with inequity patterns among different groups of people. The purpose of this study was to analyze the equity in oral health service among Thai citizens through patterns of oral health service uses as well as unmet oral health needs by using the 2017 Health and Welfare Survey by the National Statistical Office of Thailand. The result revealed that 9.6 percent of Thai population received any oral health service within the past 12 months. Most (81.6 percent) of service uses were for treatments. The main reasons of not seeking oral health service were the delays and prolonged waiting time. On the unmet oral health needs, 1.4 percent of the population with oral health needs was not met. The populations with no health benefits, the aged, and the lowest socio-economic status saw twice as many unmet oral health needs compared to other population groups. These groups received the least oral health services. The survey showed the inequity of oral health service utilization, particularly among populations with different health benefits and different socio-economic status. This indicates the necessity of oral health policy that responds to the needs of the people and creates an equitable oral health service system; in particular, promotes oral health literacy, builds harmony among three public health insurance schemes, and expands the scope of services so that people have better accesses to necessary services.en_EN
dc.subject.keywordความเป็นธรรมทางสุขภาพth_TH
dc.subject.keywordความเป็นธรรมด้านสุขภาพth_TH
.custom.citationธีรวัฒน์ ทัศนภิรมย์, Teerawat Tussanapirom, วริศา พานิชเกรียงไกร, Warisa Panichkriangkrai, วุฒิพันธุ์ วงษ์มงคล and Vuthiphan Vongmongkol. "ความเป็นธรรมในการได้รับบริการสุขภาพช่องปากของประชากรไทย: การวิเคราะห์ผลการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2560." 2562. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5111">http://hdl.handle.net/11228/5111</a>.
.custom.total_download1950
.custom.downloaded_today2
.custom.downloaded_this_month54
.custom.downloaded_this_year455
.custom.downloaded_fiscal_year91

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v13n ...
ขนาด: 340.2Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย