มิติเวลาเพื่อความเป็นธรรม ข้อสังเกตจากโควิด 19
dc.contributor.author | ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย | th_TH |
dc.contributor.author | Supasit Pannarunothai | th_TH |
dc.date.accessioned | 2021-09-30T04:52:58Z | |
dc.date.available | 2021-09-30T04:52:58Z | |
dc.date.issued | 2564-09 | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 15,3 (ก.ค. - ก.ย. 2564) : 273-275 | th_TH |
dc.identifier.issn | 2672-9415 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5418 | |
dc.description.abstract | ปรากฏการณ์ที่โรคโควิด 19 สามารถเป็นได้กันทุกคนทั่วโลกเพราะไม่มีใครมีภูมิคุ้มกันมาก่อน ใครสัมผัสก่อน คนนั้นเป็นก่อน จนกระทั่งเป็นกันเกือบทุกคน โรคจึงสงบได้ มิติทางเวลา เช่น ใครติดโรคก่อนหรือเป็นทีหลัง ก็อาจทำให้ผลลัพธ์การรักษาแตกต่างกันได้ ถ้าช่วงเวลาใดเป็นพร้อมกันมากๆ ก็จะทำให้เสียชีวิตมากขึ้นเพราะระบบบริการสุขภาพไม่พร้อมรองรับ เมื่อค้นพบวัคซีนที่ป้องกันโรคได้ มิติทางเวลาก็เข้ามามีความสำคัญคือ ใครจะได้ฉีดก่อนหรือหลัง ประเทศใดจะได้ฉีดวัคซีนครบก่อน-หลัง เนื่องจากผลกระทบของระบาดของโรคนี้มีมากกว่าด้านสุขภาพ แต่ลุกลามไปจนถึงผลกระทบทางสังคม เศรษฐกิจและการศึกษา ปัจจัยแวดล้อมที่แตกต่างกันของแต่ละบุคคลหรือแต่ละประเทศ ทำให้เป็นที่สังเกตได้ว่า สถานการณ์ความเหลื่อมล้ำที่ไม่เป็นธรรมที่เป็นมาก่อนโรคระบาด อาจเปลี่ยนไปสู่สถานการณ์ที่มีความเป็นธรรมมากขึ้น หรือตรงข้ามคือ อาจเปลี่ยนเป็นยิ่งไม่เป็นธรรมมากขึ้น บทบรรณาธิการนี้คาดว่า ประเทศหรือชุมชนที่มีรากฐานการวิจัยและนโยบายที่ดีจะเป็นปัจจัยทำให้เกิดสังคมที่เป็นธรรมมากขึ้น ภายในมิติทางเวลาที่สังคมยอมรับได้ ซึ่งความเหลื่อมล้ำภายในประเทศต้องใช้กลไกในประเทศเพื่อจัดการแก้ไข เป็นที่ยอมรับว่าการจะให้ทุกคนในประเทศได้รับวัคซีนต้องใช้เวลาหลายเดือน ใครเป็นผู้สมควรได้รับก่อน-หลังเป็นไปตามความเสี่ยงและตามคิวไม่ใช่อภิสิทธิ์ของนักการเมือง กลไกของสังคมเป็นปัจจัยช่วยลดความเหลื่อมล้ำได้ เพราะการพัฒนาศักยภาพของประเทศให้เป็นประเทศพัฒนาแล้วที่มีความเป็นธรรมควรเป็นเป้าหมายที่เห็นพ้องกัน การพัฒนาศักยภาพคนของประเทศด้านการวิจัยควรเป็นยุทธศาสตร์เพื่อสร้างความเป็นธรรมในมิติเวลาที่ต้องใช้เวลา | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | บริการทางการแพทย์ | th_TH |
dc.subject | Medical Service | th_TH |
dc.subject | COVID-19 (Disease) | th_TH |
dc.subject | Coronaviruses | th_TH |
dc.subject | Coronavirus Infections | th_TH |
dc.subject | โควิด-19 (โรค) | th_TH |
dc.subject | การติดเชื้อไวรัสโคโรนา | th_TH |
dc.subject | ไวรัสโคโรนา | th_TH |
dc.subject | Equity | th_TH |
dc.subject | Equity in Health | th_TH |
dc.title | มิติเวลาเพื่อความเป็นธรรม ข้อสังเกตจากโควิด 19 | th_TH |
dc.title.alternative | Time to Converge Equity: Observation from COVID-19 Pandemic | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.subject.keyword | ความเป็นธรรม | th_TH |
dc.subject.keyword | ความเป็นธรรมด้านสุขภาพ | th_TH |
dc.subject.keyword | ความเป็นธรรมทางสุขภาพ | th_TH |
.custom.citation | ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย and Supasit Pannarunothai. "มิติเวลาเพื่อความเป็นธรรม ข้อสังเกตจากโควิด 19." 2564. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5418">http://hdl.handle.net/11228/5418</a>. | |
.custom.total_download | 675 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 7 | |
.custom.downloaded_this_year | 111 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 16 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
ฉบับเต็ม
ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ