dc.contributor.author | อติญาณ์ ศรเกษตริน | th_TH |
dc.contributor.author | Atiya Sarakshetrin | th_TH |
dc.contributor.author | ทัศนีย์ เกริกกุลธร | th_TH |
dc.contributor.author | Tassanee Krirkgulthorn | th_TH |
dc.contributor.author | ธัญพร ชื่นกลิ่น | th_TH |
dc.contributor.author | Thunyaporn Chuenklin | th_TH |
dc.contributor.author | ปาณิสรา ส่งวัฒนายุทธ | th_TH |
dc.contributor.author | Panisara Songwatthanayuth | th_TH |
dc.contributor.author | รุ่งนภา จันทรา | th_TH |
dc.contributor.author | Rungnapa Chantra | th_TH |
dc.contributor.author | สุชาดา นิ้มวัฒนากุล | th_TH |
dc.contributor.author | Suchada Nimwatanakul | th_TH |
dc.contributor.author | วรวุฒิ แสงทอง | th_TH |
dc.contributor.author | Worawut Saengthong | th_TH |
dc.contributor.author | สุทธานันท์ กัลกะ | th_TH |
dc.contributor.author | Suthanan Kunlaka | th_TH |
dc.contributor.author | สืบตระกูล ตันตลานุกุล | th_TH |
dc.contributor.author | Seubtrakul Tantalanukul | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-03-21T03:59:21Z | |
dc.date.available | 2022-03-21T03:59:21Z | |
dc.date.issued | 2565-01 | |
dc.identifier.other | hs2777 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5532 | |
dc.description.abstract | การวิจัยแบบผสมผสานครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายในการพัฒนากำลังคนด้านการพยาบาล: การผลิต การกระจาย การธำรงรักษาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างทั้งเชิงปริมาณ จำนวน 396 คน ด้วยแบบสอบถามการธำรงรักษากำลังคนทั้งที่เป็นปัจจุบันและแนวทางที่ต้องการให้เกิดด้านการพยาบาลเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์การระบาดของโรคระบาดใหญ่ (โควิด-19) และเชิงคุณภาพ จำนวน 120 คน จากการสัมภาษณ์เชิงลึก ผลการศึกษาพบว่า 1) ด้านการผลิตกำลังคนด้านการพยาบาล ควรวางแผนความต้องการกำลังด้านการพยาบาลระยะยาว เสนอแนะเชิงนโยบายต่อกระทรวงสาธารณสุขและรัฐบาล เครือข่ายสถาบันการศึกษาวางแผนการผลิตพยาบาลวิชาชีพระยะยาวร่วมกัน วิเคราะห์หลักสูตรที่ใช้อยู่ในปัจจุบันเพื่อหาส่วนขาดที่ยังไม่ตอบสนองสถานการณ์การแพร่ระบาดใหญ่ พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะที่จำเป็นของพยาบาลวิชาชีพในสถานการณ์การแพร่กระจาย ปรับรูปแบบและเทคนิควิธีการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีสร้างการเรียนรู้เสมือนจริง เตรียมความพร้อมด้านอาจารย์ผู้สอนทั้งความรู้และทักษะปฏิบัติให้การพยาบาลในระบบการบริการพยาบาลวิถีใหม่ กำหนดมาตรการที่ชัดเจนในการดูแลช่วยเหลือนักศึกษากรณีมีการติดเชื้อหรือเป็นกลุ่มเสี่ยงสูง 2) ด้านการกระจายกำลังคนด้านการพยาบาล คือ กระทรวงสาธารณสุขควรทบทวนและวางแผนกระจายอัตรากำลังด้านการพยาบาลอย่างเป็นระบบทั้งในระดับกระทรวง เขตสุขภาพและสถานบริการสุขภาพทุกระดับให้มีอัตรากำลังอย่างเหมาะสมตามบริบทพื้นที่ความต้องการบริการของประชาชนและระดับความซับซ้อนของการให้บริการพยาบาล ผู้บริหารพยาบาลในสถานบริการพิจารณาการกระจายอัตรากำลังของหน่วยบริการ 3) ด้านการธำรงรักษากำลังคนด้านการพยาบาล คือ กำหนดแนวทางและมาตรการในการธำรงรักษาพยาบาล สร้างขวัญและกำลังใจให้กับพยาบาล โดยการบรรจุตำแหน่งข้าราชการ การเพิ่มตำแหน่งขั้นสูงเพื่อสร้างความก้าวหน้าในสายงาน สร้างระบบค่าตอบแทน สวัสดิการ สิทธิประโยชน์ สนับสนุนและกำหนดมาตรการที่ชัดเจนและกำกับติดตามสนับสนุนดูแลพยาบาลในด้านสุขภาพ ให้เกิดปลอดภัยจากการติดเชื้อโควิด-19 รวมถึงวางแผนพัฒนาบุคลากรทางการพยาบาลให้มีความก้าวหน้าในสายงาน | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | Health Policy | th_TH |
dc.subject | นโยบายสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | กำลังคนด้านสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | บุคลากรทางการแพทย์ | th_TH |
dc.subject | Medical Personnel | th_TH |
dc.subject | พยาบาลวิชาชีพ | th_TH |
dc.subject | Professional Nurses | th_TH |
dc.subject | พยาบาล | th_TH |
dc.subject | Nurses | th_TH |
dc.subject | การพยาบาล | th_TH |
dc.subject | Nursing | th_TH |
dc.subject | COVID-19 (Disease) | th_TH |
dc.subject | โควิด-19 (โรค) | th_TH |
dc.subject | Coronaviruses | th_TH |
dc.subject | ไวรัสโคโรนา | th_TH |
dc.subject | Coronavirus Infections | th_TH |
dc.subject | การติดเชื้อไวรัสโคโรนา | th_TH |
dc.subject | กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) | th_TH |
dc.subject | ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) | th_TH |
dc.subject | Health Workforce | th_TH |
dc.subject | การวางแผนกำลังคน | th_TH |
dc.subject | การบริหารการพยาบาล | th_TH |
dc.subject | Nursing Service--Organization & Administration | th_TH |
dc.title | การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายในการพัฒนากำลังคนด้านการพยาบาล: การผลิต การกระจาย การธำรงรักษา เพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์การระบาดของโรคระบาดใหญ่ | th_TH |
dc.title.alternative | Policy Recommendation Synthesis for Nursing Practice Workforce Development: Production, Distribution, and Retention due to Pandemic | th_TH |
dc.type | Technical Report | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this mixed-method study was to syntheses policy recommendations nursing workforce development: production, distribution, and retention as COVID-19 pandemic. The quantitative data were collected from 396 samples through the questionnaire of actual and expected workforce retention operation due to COVID-19 pandemic. The qualitative data were collected from 120 subjects through in-depth interview. The findings were as follow: 1) The production of nursing workforce, the Ministry of Public Health, governer, and educational institute network should mutually plan to determin the nursing workforce production needs in longterm period, analyze recent nursing curriculum to find the competency gap due to the pandemic, develop the knowledge and skills of professional nurses according to new normal services, establish clearly procedure to support nursing students when they got infection or high risk to infection. 2) The distribution of nursing workforce, the ministry of public health should systematically review and plan to distribute nursing workforce in all level-ministry, area health, and settings for appropriate manpower rate according to the contex of areas and the complex of nursing services. The nursing administrators should consider the distribution of nursing workforce of their setting. 3) The retention of nursing workforce, the administrators should determin the nursing workforce retention procedures or protocals, encourage and motivation through appoint the worker to be a government officer; promote to a higher position; set up the clearly systems of compensation, welfare benefit and privilege; follow up the health of nursing personel in order to safe them from COVID-19 infection. Moreover, they should have a human development plan for nursing career progression. | th_TH |
dc.identifier.callno | W76 อ137ก 2565 | |
dc.identifier.contactno | 64-021 | |
dc.subject.keyword | Healthcare Workers | th_TH |
.custom.citation | อติญาณ์ ศรเกษตริน, Atiya Sarakshetrin, ทัศนีย์ เกริกกุลธร, Tassanee Krirkgulthorn, ธัญพร ชื่นกลิ่น, Thunyaporn Chuenklin, ปาณิสรา ส่งวัฒนายุทธ, Panisara Songwatthanayuth, รุ่งนภา จันทรา, Rungnapa Chantra, สุชาดา นิ้มวัฒนากุล, Suchada Nimwatanakul, วรวุฒิ แสงทอง, Worawut Saengthong, สุทธานันท์ กัลกะ, Suthanan Kunlaka, สืบตระกูล ตันตลานุกุล and Seubtrakul Tantalanukul. "การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายในการพัฒนากำลังคนด้านการพยาบาล: การผลิต การกระจาย การธำรงรักษา เพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์การระบาดของโรคระบาดใหญ่." 2565. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5532">http://hdl.handle.net/11228/5532</a>. | |
.custom.total_download | 108 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 0 | |
.custom.downloaded_this_year | 21 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 2 | |