Show simple item record

The Lesson Learned on Telehealth Care Model of Home Isolation in Terms of Health Workforce in the Public Health Region 12

dc.contributor.authorวรัญญา จิตรบรรทัดth_TH
dc.contributor.authorWaranya Jitbantadth_TH
dc.contributor.authorภัทรธิดา ฟองงามth_TH
dc.contributor.authorPattaratida Fong-ngamth_TH
dc.contributor.authorขัตติยา เสมอภพth_TH
dc.contributor.authorKhattiya Samerpopth_TH
dc.contributor.authorไมซาเร๊าะ ขุนรักษ์ หมานระเด็นth_TH
dc.contributor.authorMaisaroh Khunrak Manradenth_TH
dc.contributor.authorฮัสสัน จิตรบรรทัดth_TH
dc.contributor.authorHassan Jitbantadth_TH
dc.date.accessioned2022-11-09T06:28:21Z
dc.date.available2022-11-09T06:28:21Z
dc.date.issued2565-08
dc.identifier.otherhs2902
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5762
dc.description.abstractจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ที่ส่งผลให้อัตรากำลังคนด้านสุขภาพไม่เพียงพอต่อการดูแลผู้ติดเชื้อ ก่อให้เกิดรูปแบบการดูแลแบบแยกกักตัวที่บ้านและกลุ่มจิตอาสาด้านสุขภาพขึ้นโดยใช้รูปแบบการดูแลทางไกล การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ถอดบทเรียนรูปแบบการดูแลทางไกลด้วยระบบแยกกักตัวที่บ้านในมุมของกำลังคนด้านสุขภาพ 2) ศึกษาบทบาทและกระบวนการดำเนินงานของกำลังคนด้านสุขภาพ ตามรูปแบบดูแลทางไกลด้วยระบบแยกกักตัวที่บ้าน 3) ศึกษาปัจจัยความสำเร็จ ปัญหาอุปสรรค ในการดำเนินงานตามรูปแบบการดูแลทางไกลด้วยระบบแยกกักตัวที่บ้าน และ 4) สังเคราะห์บทเรียนสู่รูปแบบชุดความรู้เรื่องรูปแบบการดูแลทางไกลด้วยระบบแยกกักตัวที่บ้าน ในมุมของกำลังคนด้านสุขภาพ ในเขตสุขภาพที่ 12 ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยสัมภาษณ์เชิงลึกแบบมีโครงสร้างและการสนทนากลุ่มในรูปแบบออนไลน์กับจิตอาสา จำนวน 30 คน และผู้ป่วยโควิด-19 ที่ได้รับการดูแลทางไกล จำนวน 50 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหาเชิงคุณภาพ มีการตรวจสอบข้อมูลทุกขั้นตอนของการวิเคราะห์ โดยใช้การตรวจสอบสามเส้า การวิเคราะห์เชิงเนื้อหาและการตีความสร้างข้อสรุป ผลการศึกษาพบว่า รูปแบบการดำเนินงานการดูแลทางไกลด้วยระบบแยกกักตัวที่บ้าน ประกอบด้วย 1) สร้างกำลังคนในรูปแบบจิตอาสาที่จะช่วยดำเนินงานในการดูแลผู้ป่วยโรคโควิด-19 แบบแยกกักตัวที่บ้าน 2) ทำความเข้าใจในเป้าหมายร่วมกัน โดยการชี้แจงวัตถุประสงค์และเป้าหมายในการทำงานให้แก่จิตอาสาทุกคน 3) จัดอบรมให้ความรู้ในประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้ป่วยโรคโควิด-19 ให้มีความรู้ความเข้าใจที่ชัดเจนในทางเดียวกัน และ 4) ติดตามการดำเนินงานของจิตอาสาโดยการประชุมแบบออนไลน์ บทบาทและกระบวนการดำเนินงานประกอบด้วย 4 ทีม คือ ทีมกลาง ทีมติดตามอาการผู้ป่วย ทีมชุมชนและทีมอาสาจัดการศพผู้เสียชีวิต ปัจจัยความสำเร็จที่สำคัญ คือ ทัศนคติ ความคิด ความเชื่อที่มีต่อการทำงานจิตอาสา ความรู้และกระบวนการพัฒนาความรู้ความสามารถให้แก่ทีมจิตอาสา ปัญหาและอุปสรรคที่พบ ได้แก่ การเข้าถึงระบบฐานข้อมูล การสื่อสาร เครื่องมือสื่อสารและสัญญาณอินเทอร์เน็ต ซึ่งกำลังคนด้านสุขภาพไม่ได้มีเพียงเจ้าหน้าที่ด้านสุขภาพเท่านั้น อาจมาจากประชาชนที่มีจิตอาสาโดยผ่านกระบวนการสร้างและพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน มีการติดตาม ให้คำปรึกษาในระหว่างดำเนินงานอย่างเป็นระบบ เพื่อเป็นแรงเสริมของกำลังคนด้านสุขภาพth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectกำลังคนด้านสาธารณสุขth_TH
dc.subjectบุคลากรทางการแพทย์th_TH
dc.subjectMedical Personnelth_TH
dc.subjectHealth Manpowerth_TH
dc.subjectHealth Workerth_TH
dc.subjectHealth Workforceth_TH
dc.subjectจิตอาสาth_TH
dc.subjectVolunteersth_TH
dc.subjectCOVID-19 (Disease)th_TH
dc.subjectโควิด-19 (โรค)th_TH
dc.subjectCoronavirusesth_TH
dc.subjectไวรัสโคโรนาth_TH
dc.subjectCoronavirus Infectionsth_TH
dc.subjectTelehealthth_TH
dc.subjectTelemedicineth_TH
dc.subjectการแพทย์ทางไกลth_TH
dc.subjectระบบบริการสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Service Systemth_TH
dc.subjectระบบบริการสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Care Systemth_TH
dc.subjectกำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce)th_TH
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.titleถอดบทเรียนรูปแบบการดูแลทางไกลด้วยระบบแยกกักตัวที่บ้านในมุมของกำลังคนด้านสุขภาพ ในเขตสุขภาพที่ 12th_TH
dc.title.alternativeThe Lesson Learned on Telehealth Care Model of Home Isolation in Terms of Health Workforce in the Public Health Region 12th_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeThe COVID-19 epidemic situation is affecting the health workforce in the public health is not enough to care for the infected people. This has led to home isolation and volunteer group was formed using a telehealth care model. The objectives of this study were to 1) learned lessons from the telehealth care model of home isolation in terms of health workforce in the public health region 12 2) study the role and operation process of health workforce 3) study the success factors, problems and obstacles in the implementation of the telehealth care model with the home isolation, and 4) to synthesize lessons to form a knowledge in the 12th health zone. Used qualitative research methodology. Data were collected through structured in-depth interviews. And online group discussions with 30 volunteers and 50 patients. Data were analyzed by qualitative content analysis. Data is checked at every step of the analysis. Using a triple check Content Analysis and interpretations creates conclusions. The results of the study revealed that the telehealth care operation model with the home isolation system consists of 1) Building human resources in the form of volunteering to help carry out work in caring for home isolation patients. 2) Understanding common goals by explaining the objectives and goals of work to all volunteers. 3) Organizing training sessions to provide knowledge on various issues related to the care of COVID-19 patients. and 4) Follow up on the activities of volunteers through online meetings. The role and operation process consisted of 3 teams: the central team, the patient follow-up team, the community team, and the corps volunteer team. The key success factors were attitudes, thoughts, beliefs towards volunteer work. Knowledge and process of developing knowledge and competence of the volunteer team the problems and obstacles encountered include accessing the database system. Health workers are not only health officials, but may also come from those who consciously go through the step-by-step construction and development process. Health promotion consultation during the operation of the system.th_TH
dc.identifier.callnoW76 ว711ถ 2565
dc.identifier.contactno65-062
dc.subject.keywordHealthcare Workersth_TH
dc.subject.keywordHome Isolationth_TH
dc.subject.keywordแยกกักตัวที่บ้านth_TH
dc.subject.keywordเขตสุขภาพth_TH
dc.subject.keywordRegional Health Areath_TH
dc.subject.keywordเขตสุขภาพที่ 12th_TH
dc.subject.keywordRegional Health Area 12th_TH
.custom.citationวรัญญา จิตรบรรทัด, Waranya Jitbantad, ภัทรธิดา ฟองงาม, Pattaratida Fong-ngam, ขัตติยา เสมอภพ, Khattiya Samerpop, ไมซาเร๊าะ ขุนรักษ์ หมานระเด็น, Maisaroh Khunrak Manraden, ฮัสสัน จิตรบรรทัด and Hassan Jitbantad. "ถอดบทเรียนรูปแบบการดูแลทางไกลด้วยระบบแยกกักตัวที่บ้านในมุมของกำลังคนด้านสุขภาพ ในเขตสุขภาพที่ 12." 2565. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5762">http://hdl.handle.net/11228/5762</a>.
.custom.total_download111
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year16
.custom.downloaded_fiscal_year2

Fulltext
Icon
Name: hs2902.pdf
Size: 1.073Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record