พฤติกรรมการขอรับประโยชน์ทดแทนของผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ที่ประกอบอาชีพขับรถรับจ้างในภาคการขนส่ง: การวิเคราะห์จากฐานข้อมูลผู้ประกันตน ของสำนักงานประกันสังคม ระหว่างปี 2561–2563
dc.contributor.author | สายชล คล้อยเอี่ยม | th_TH |
dc.contributor.author | Saichon Kloyiam | th_TH |
dc.contributor.author | พิสิฐ ศรีรัตนวงศ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Phisit Srirattanawong | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-12-29T04:05:29Z | |
dc.date.available | 2022-12-29T04:05:29Z | |
dc.date.issued | 2565-12 | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 16,4 (ต.ค. - ธ.ค. 2565) : 488-504 | th_TH |
dc.identifier.issn | 2672-9415 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5790 | |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการขอรับประโยชน์ทดแทนของผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ที่ประกอบอาชีพขับรถรับจ้างในภาคการขนส่งที่อาจเป็นภาพสะท้อนแนวโน้มการใช้บริการประกันสังคมของแรงงานแพลตฟอร์มที่มีแนวโน้มเป็นที่นิยมของแรงงานนอกระบบในช่วงการระบาดของโควิด–19 โดยนำข้อมูลผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ที่ประกอบอาชีพในภาคการขนส่งที่ขึ้นทะเบียนในระบบประกันสังคมของสำนักงานประกันสังคมระหว่างปี 2561–2563 จำนวน 417,135 คน นำเสนอสถิติเชิงพรรณนาด้วยจำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เกี่ยวกับการใช้บริการจำแนกตามจำนวนครั้ง ประโยชน์ทดแทน และเวลาเฉลี่ยในการขอรับประโยชน์ทดแทนครั้งแรกหลังจากขึ้นทะเบียนแล้ว ผลการศึกษาพบว่า มีผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ที่ประกอบอาชีพขับรถรับจ้างในภาคการขนส่งร้อยละ 4.1 ขอรับประโยชน์ทดแทน ระยะเวลาขอรับประโยชน์ทดแทนครั้งแรกหลังจากเป็นผู้ประกันตนแล้วไม่ต่ำกว่า 1 ปี ส่วนประโยชน์ทดแทนที่ขอรับบริการมากที่สุด คือ ประโยชน์ทดแทนกรณีประสบอันตรายและเจ็บป่วย และกรณีทุพพลภาพมีอัตราของผู้ประกันตนที่ไม่ได้รับอนุมัติมากที่สุด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรพัฒนารูปแบบการสื่อสารเพื่อกระตุ้นและจูงใจในการเข้าสู่ระบบประกันสังคมของกลุ่มแรงงานแพลตฟอร์ม โดยนำลักษณะทางประชากรของผู้ประกันตนที่มีแนวโน้มจะใช้บริการประกันสังคมในช่วง 1-3 ปี มาประยุกต์ใช้ | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | ประกันสังคม | th_TH |
dc.subject | สิทธิประโยชน์--การคุ้มครอง | th_TH |
dc.subject | สิทธิประโยชน์ทดแทน | th_TH |
dc.subject | ประกันสังคม--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ | th_TH |
dc.subject | ประกันสังคม--บริการทางการแพทย์ | th_TH |
dc.title | พฤติกรรมการขอรับประโยชน์ทดแทนของผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ที่ประกอบอาชีพขับรถรับจ้างในภาคการขนส่ง: การวิเคราะห์จากฐานข้อมูลผู้ประกันตน ของสำนักงานประกันสังคม ระหว่างปี 2561–2563 | th_TH |
dc.title.alternative | Claim Behaviors among Insured Persons under Social Security Act’s Article 40 with Occupations in Transportation: An Analysis of Social Security Office’s Administrative Data between 2018–2020 | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The present study’s objective was to investigate the claim behaviors of the insured persons under Social Security Act’s Article 40 who had transportation related occupations. This would provide lessons for other platform workers being prevalent during COVID-19 pandemic who chose to register under Social Security Act’s Article 40. The Social Security Office’s administrative database between 2018–2020 provided a total of 417,135 insured persons for analysis. Descriptive statistics of number, percentage, mean, and standard deviation were presented to reflect insured persons’ claim frequencies, benefits and averaged days from registration dates to first claim dates by benefits. The analysis showed that 4.1 percent of insured persons submitted claims. The average duration from the registration dates to the first claim dates exceeded a year. The most benefit claims came from the sickness benefit. The highest rate of denied claims came from the disability benefit. Developing effective communication strategies for platform workers should consider potential claimants and their needs as found by this study. | th_TH |
dc.subject.keyword | ผู้ประกันตนตามมาตรา 40 | th_TH |
dc.subject.keyword | อาชีพขับรถรับจ้าง | th_TH |
.custom.citation | สายชล คล้อยเอี่ยม, Saichon Kloyiam, พิสิฐ ศรีรัตนวงศ์ and Phisit Srirattanawong. "พฤติกรรมการขอรับประโยชน์ทดแทนของผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ที่ประกอบอาชีพขับรถรับจ้างในภาคการขนส่ง: การวิเคราะห์จากฐานข้อมูลผู้ประกันตน ของสำนักงานประกันสังคม ระหว่างปี 2561–2563." 2565. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5790">http://hdl.handle.net/11228/5790</a>. | |
.custom.total_download | 307 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 8 | |
.custom.downloaded_this_year | 156 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 17 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
ฉบับเต็ม
ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ