แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

ภูมิต้านทานในการให้วัคซีนโควิด-19 ชนิดต่างๆ กระตุ้นเข็ม 3 ในผู้ใหญ่ที่ได้รับวัคซีนครบ 2 เข็ม ตามคำแนะนำของกระทรวงสาธารณสุข

dc.contributor.authorยง ภู่วรวรรณth_TH
dc.contributor.authorYong Poovorawanth_TH
dc.contributor.authorณศมน วรรณลภากรth_TH
dc.contributor.authorNasamon Wanlapakornth_TH
dc.contributor.authorภรจริม นิลยนิมิตth_TH
dc.contributor.authorPornjarim Nilyanimitth_TH
dc.contributor.authorฤทธิเดช ยอแสงth_TH
dc.contributor.authorRitthideach Yorsaength_TH
dc.contributor.authorจิระ จันทร์แสนโรจน์th_TH
dc.contributor.authorJira Chansaenrojth_TH
dc.contributor.authorหนึ่งฤทัย สุนทรวงศ์th_TH
dc.contributor.authorNungruthai Suntronwongth_TH
dc.contributor.authorทักษพร ทัศนาธรth_TH
dc.contributor.authorThaksaporn Thatsanatornth_TH
dc.contributor.authorดลชิดา ศรีเหมือนth_TH
dc.contributor.authorDonchida Srimuanth_TH
dc.contributor.authorสุวิชาดา อัศวโกสีย์th_TH
dc.contributor.authorSuvichada Assawakosrith_TH
dc.contributor.authorสิทธิชัย กนกอุดมth_TH
dc.contributor.authorSitthichai Kanokudomth_TH
dc.contributor.authorวิทักษ์ วิทักษบุตรth_TH
dc.contributor.authorWithak Withaksabutth_TH
dc.date.accessioned2023-03-10T08:39:07Z
dc.date.available2023-03-10T08:39:07Z
dc.date.issued2566-02
dc.identifier.otherhs2948
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5833
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความปลอดภัยและผลภูมิต้านทานหลังได้รับวัคซีนโควิด-19 ชนิดโปรตีนซับยูนิตหรือวัคซีนโคโวแวกซ์ เมื่อให้เป็นเข็มกระตุ้นในประชากรผู้ใหญ่ที่เคยได้รับวัคซีนมาแล้ว 2 เข็มในสูตรต่างๆ โดยศึกษาแบบ prospective cohort study ดำเนินการที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ในประเทศไทย ระหว่างเดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม พ.ศ. 2565 โดยอาสาสมัครในโครงการวิจัยนี้ ได้แก่ ผู้ใหญ่ที่มีสุขภาพแข็งแรงอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป โดยจะแบ่งอาสาสมัครออกเป็น 4 กลุ่มตามชนิดวัคซีน 2 เข็มที่เคยได้รับมาก่อน คือ กลุ่มที่ 1 คือ อาสาสมัครที่ได้รับวัคซีนเชื้อตายซิโนฟาร์ม (BBIBP-CorV) โดยมีระยะห่าง 2 เข็ม เท่ากับ 3-4 สัปดาห์ กลุ่มที่ 2 คือ อาสาสมัครที่ได้รับวัคซีนไวรัลเวกเตอร์แอสตราซีนีก้า โดยมีระยะห่าง 2 เข็ม เท่ากับ 8-12 สัปดาห์ กลุ่มที่ 3 คือ อาสาสมัครที่ได้รับวัคซีนไฟเซอร์ (BNT162b2) 2 เข็ม โดยมีระยะห่าง 2 เข็ม เท่ากับ 3-4 สัปดาห์ และกลุ่มที่ 4 คือ อาสาสมัครที่ได้รับวัคซีนสูตรสลับระหว่างวัคซีนเชื้อตายซิโนแวคตามด้วยวัคซีนไวรัลเวกเตอร์แอสตราซีนีก้า โดยมีระยะห่าง 2 เข็ม เท่ากับ 3-4 สัปดาห์ โดยมีการรับวัคซีนทั้ง 2 เข็มมาจากโรงพยาบาลอื่น ซึ่งมีการบันทึกข้อมูลในระบบหมอพร้อม และมารับวัคซีนเข็มสาม (booster) เป็นวัคซีนโคโวแวกซ์ 1 เข็ม ที่ศูนย์ฯ หรือจุดบริการฉีดวัคซีนทั้งหมด 10 แห่งในจังหวัดชลบุรี ระยะห่างระหว่างเข็ม 2 และ 3 อยู่ที่ 3 ถึง 10 เดือนหลังจากเข็ม 2 ความปลอดภัยจากการรับวัคซีนจะทำการประเมินโดยใช้แบบสอบถามออนไลน์ที่ให้อาสาสมัครตอบแบบสอบถามด้วยตนเอง สำหรับผลภูมิต้านทานจะทำการวิเคราะห์โดยการตรวจวัดระดับแอนติบอดีชนิดที่จับกับโปรตีนตัวรับของเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 สายพันธุ์ดั้งเดิมและทดสอบความสามารถของแอนติบอดีในการป้องกันการเข้าเซลล์ของไวรัส สายพันธุ์ดั้งเดิมและสายพันธุ์โอไมครอน BA.2 รวมไปถึงตรวจวัดการตอบสนองของ T-cell ผลการวิจัยพบว่า อาสาสมัครที่ผ่านเกณฑ์การคัดเลือกและมีคุณสมบัติในการเข้าร่วมโครงการทั้งหมดจำนวน 210 คน จากการศึกษาความปลอดภัยจากการรับวัคซีน พบว่าประชากรส่วนใหญ่มีอาการข้างเคียงจากการรับวัคซีนทั้งแบบ local และ systemic ซึ่งเกิดขึ้นภายใน 7 วันหลังการฉีดวัคซีน อยู่ในระดับเล็กน้อยถึงปานกลาง สำหรับผลการตรวจวัดผลภูมิต้านทานหลังจากการรับวัคซีนเข็ม 3 มีการวัดที่ 14 และ 28 วัน พบว่า อาสาสมัครส่วนใหญ่ มีผลการกระตุ้นภูมิต้านทานในระดับที่สูง ในขณะที่อาสาสมัครกลุ่มที่มี nucleocapsid เป็นลบ พบว่า มีค่า neutralizing activity ต่อเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 สายพันธุ์ดั้งเดิมและสายพันธุ์โอมิครอนใกล้เคียงกันทั้ง 4 กลุ่ม โดยมากกว่า 95% และ 70% ตามลำดับ นอกจากนี้การได้รับวัคซีนโคโวแวกซ์ ช่วยกระตุ้นการทำงานของ T-cell ได้อีกด้วย สรุปผลการวิจัย: วัคซีนโควิด-19 ชนิดโปรตีนซับยูนิตหรือวัคซีนโคโวแวกซ์ เมื่อให้เป็นเข็มกระตุ้นในประชากรผู้ใหญ่ที่เคยได้รับวัคซีนมาแล้ว 2 เข็มในสูตรต่างๆ มีประสิทธิภาพดีในการกระตุ้นภูมิต้านทานและมีความปลอดภัยth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectผู้ใหญ่th_TH
dc.subjectAdultsth_TH
dc.subjectวัคซีนth_TH
dc.subjectVaccinesth_TH
dc.subjectวัคซีนโควิด-19th_TH
dc.subjectCOVID-19 Vaccinesth_TH
dc.subjectSARS-CoV-2th_TH
dc.subjectImmunityth_TH
dc.subjectภูมิคุ้มกันth_TH
dc.subjectImmune Systemth_TH
dc.subjectระบบภูมิคุ้มกันth_TH
dc.subjectภูมิคุ้มกันวิทยาth_TH
dc.subjectImmunologyth_TH
dc.subjectCOVID-19 (Disease)th_TH
dc.subjectโควิด-19 (โรค)th_TH
dc.subjectโควิด-19 (โรค)--การป้องกันและควบคุมth_TH
dc.subjectCOVID-19--Prevention and Controlth_TH
dc.subjectCoronavirusesth_TH
dc.subjectไวรัสโคโรนาth_TH
dc.subjectCoronavirus Infectionsth_TH
dc.subjectการติดเชื้อไวรัสโคโรนาth_TH
dc.subjectระบบบริการสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Service Systemth_TH
dc.subjectระบบบริการสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Care Systemth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleภูมิต้านทานในการให้วัคซีนโควิด-19 ชนิดต่างๆ กระตุ้นเข็ม 3 ในผู้ใหญ่ที่ได้รับวัคซีนครบ 2 เข็ม ตามคำแนะนำของกระทรวงสาธารณสุขth_TH
dc.title.alternativeImmunogenicity of the Third Covid-19 Vaccines Booster Dose in Adults with Completed 2 Doses as Recommended by the Ministry of Public Healthth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeObjectives: To report the safety and immunogenicity profile of a protein subunit vaccine (CovovaxTM) given as a third (booster) dose to individuals primed with different primary vaccine regimens. Methods: A third dose was administered to individuals with an interval range of 3-10 months after the second dose. The four groups were classified according to their primary vaccine regimens, including two-dose BBIBP-CorV, AZD1222, BNT162b2, and CoronaVac/AZD1222. Immunogenicity analysis was performed to determine binding antibodies, neutralizing activity, and the T-cell responses. Results: Overall, 210 individuals were enrolled and boosted with the CovovaxTM vaccine. The reactogenicity was mild to moderate. Most participants elicited a high level of binding and neutralizing antibody against Wild-type and Omicron variants after the booster dose. In participants who were anti nucleocapsid immunoglobulin G-negative from all groups, a booster dose could elicit neutralizing activity to Wild-type and Omicron variants by more than 95% and 70% inhibition at 28 days, respectively. The CovovaxTM vaccine could elicit a cell-mediated immune response. Conclusion: The protein subunit vaccine (CovovaxTM) can be proposed as a booster dose after two different priming dose regimens. It has strong immunogenicity and good safety profileth_TH
dc.identifier.callnoWC503 ย113ภ 2566
dc.identifier.contactno65-096
dc.subject.keywordวัคซีนเข็มกระตุ้นth_TH
dc.subject.keywordภูมิต้านทานth_TH
dc.subject.keywordMohpromtth_TH
dc.subject.keywordหมอพร้อมth_TH
.custom.citationยง ภู่วรวรรณ, Yong Poovorawan, ณศมน วรรณลภากร, Nasamon Wanlapakorn, ภรจริม นิลยนิมิต, Pornjarim Nilyanimit, ฤทธิเดช ยอแสง, Ritthideach Yorsaeng, จิระ จันทร์แสนโรจน์, Jira Chansaenroj, หนึ่งฤทัย สุนทรวงศ์, Nungruthai Suntronwong, ทักษพร ทัศนาธร, Thaksaporn Thatsanatorn, ดลชิดา ศรีเหมือน, Donchida Srimuan, สุวิชาดา อัศวโกสีย์, Suvichada Assawakosri, สิทธิชัย กนกอุดม, Sitthichai Kanokudom, วิทักษ์ วิทักษบุตร and Withak Withaksabut. "ภูมิต้านทานในการให้วัคซีนโควิด-19 ชนิดต่างๆ กระตุ้นเข็ม 3 ในผู้ใหญ่ที่ได้รับวัคซีนครบ 2 เข็ม ตามคำแนะนำของกระทรวงสาธารณสุข." 2566. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5833">http://hdl.handle.net/11228/5833</a>.
.custom.total_download31
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year7
.custom.downloaded_fiscal_year0

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs2948.pdf
ขนาด: 3.960Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย