แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การพัฒนาแนวทางการดำเนินงานบริการเภสัชกรรมทางไกลในประเทศไทย

dc.contributor.authorวิไลลักษณ์ ตันตะโยธินth_TH
dc.contributor.authorWilailuck Tuntayothinth_TH
dc.contributor.authorวรวิทย์ กิตติวงศ์สุนทรth_TH
dc.contributor.authorWorawit Kittiwongsunthornth_TH
dc.contributor.authorรุ่งเพ็ชร สกุลบำรุงศิลป์th_TH
dc.contributor.authorRungpetch Sakulbumrungsilth_TH
dc.contributor.authorกุลวดี ศรีพานิชกุลชัยth_TH
dc.contributor.authorKunwadee Sripanidkulchaith_TH
dc.contributor.authorนุศราพร เกษสมบูรณ์th_TH
dc.contributor.authorNusaraporn Kessomboonth_TH
dc.contributor.authorมุกดาวรรณ ประกอบไวทยกิจth_TH
dc.contributor.authorMukdavan Prakobvaitayakitth_TH
dc.contributor.authorสิริลักษณ์ บัวเจริญth_TH
dc.contributor.authorSiriluk Buacharoenth_TH
dc.contributor.authorอาทิตย์ สอดแสงอรุณงามth_TH
dc.contributor.authorAtit Sodsangaroonngamth_TH
dc.contributor.authorศิริรัตน์ ตันปิชาติth_TH
dc.contributor.authorSirirat Tunpichartth_TH
dc.contributor.authorจิราพร ลิ้มปานานนท์th_TH
dc.contributor.authorJiraporn Limpananontth_TH
dc.date.accessioned2023-03-30T08:27:02Z
dc.date.available2023-03-30T08:27:02Z
dc.date.issued2566-03
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 17,1 (ม.ค. - มี.ค. 2566) : 91-107th_TH
dc.identifier.issn2672-9415
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5858
dc.description.abstractแม้ว่าสภาเภสัชกรรมได้ออกประกาศ เรื่องการกำหนดมาตรฐานและขั้นตอนการให้บริการเภสัชกรรมทางไกล อย่างไรก็ตาม ในการดำเนินงานจำเป็นต้องมีรายละเอียดเพิ่มเติม การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำแนวทางขั้นพื้นฐานของระบบบริการเภสัชกรรมทางไกลและการบริบาลเภสัชกรรม และจัดทำสถาปัตยกรรมข้อมูลที่รองรับการดำเนินงานเภสัชกรรมทางไกล การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงพัฒนา แบ่งเป็น 2 ระยะ ระยะที่ 1 เริ่มจากการทบทวนวรรณกรรม สนทนากลุ่ม รับฟังความเห็น เพื่อใช้ในการสังเคราะห์ร่างแนวทางขั้นพื้นฐานของระบบบริการเภสัชกรรมทางไกล แนวทางการบริบาลเภสัชกรรม ผลการศึกษาในระยะที่ 1 ประกอบด้วย ชุดข้อมูลขั้นต่ำที่จำเป็นต้องใช้สำหรับการบริการเภสัชกรรมทางไกล แบ่งเป็น ข้อมูลผู้ป่วย ใบสั่งจ่ายยา การจ่ายยา การขนส่ง ชุดข้อมูลทั้งหมด ประกอบกับแนวทางขั้นพื้นฐานในการให้บริการเภสัชกรรมทางไกล และบริบาลเภสัชกรรม ได้นำไปเป็นข้อมูลนำเข้าสำหรับการศึกษาในระยะที่ 2 ซึ่งเป็นการออกแบบสถาปัตยกรรมข้อมูลที่รองรับการดำเนินงานเภสัชกรรมทางไกลโดยใช้ร่างแนวทางฯ จากระยะที่ 1 รับฟังความเห็น และสรุปสถาปัตยกรรมข้อมูลที่รองรับการดำเนินงานเภสัชกรรมทางไกล และผลการศึกษาในระยะที่ 2 ประกอบด้วย ร่างรูปแบบและโครงสร้างมาตรฐานข้อมูล สำหรับข้อมูลประวัติส่วนตัว ประวัติทางสุขภาพ ประวัติการรักษาและประวัติการขนส่งยาของผู้รับบริการ ใช้โครงของ HL7 FHIR (health level 7 fast healthcare interoperability resource) และปรับแต่งให้มีความจำเพาะกับบริการเภสัชกรรมทางไกลในประเทศไทย เป็น Thailand Telepharmacy Profile เพื่อใช้ในการนำไปต่อยอดในการให้บริการทางสุขภาพแก่ผู้รับบริการth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectPharmacyth_TH
dc.subjectเภสัชกรรมth_TH
dc.subjectPharmaceutical Careth_TH
dc.subjectการบริบาลทางเภสัชกรรมth_TH
dc.subjectApplication Softwareth_TH
dc.subjectโปรแกรมประยุกต์th_TH
dc.subjectระบบบริการสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Service Systemth_TH
dc.subjectระบบบริการสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Care Systemth_TH
dc.titleการพัฒนาแนวทางการดำเนินงานบริการเภสัชกรรมทางไกลในประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of Telepharmacy Practice Guideline in Thailandth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeAlthough the Pharmacy Council has launched the Guidelines for Telepharmacy, it required additional details for implementation. The present study aimed to develop the standard practice for telepharmacy and guidelines for pharmaceutical care and to design data architecture that supported and facilitated the operation of telepharmacy. This developmental research was designed into 2 phases. The first phase combined literature review, focus group discussion, and stakeholder hearing with the aim of developing the basic guidelines for telepharmacy and guidelines for pharmaceutical care. Minimum dataset consisting of patient data, prescription, dispensing, logistics, and guidelines for pharmaceutical care was an output and recommendation of phase I study. The results from the first phase were inputs for stakeholder consultation of the second phase. The output of phase II study was the telepharmacy data architecture compliance to HL7 FHIR (health level 7 fast healthcare interoperability resource) for telepharmacy data sharing consisting of patient personal information, health data, treatment history, and logistic statistics. The recommended data architecture of the phase 2 study was named “Thailand Telepharmacy Profile”. Finally, this present study proposes the Pharmacy Council of Thailand to implement the guidelines and standard data set.th_TH
dc.subject.keywordเภสัชกรรมทางไกลth_TH
dc.subject.keywordTelepharmacyth_TH
dc.subject.keywordระบบบริการเภสัชกรรมทางไกลth_TH
dc.subject.keywordTelepharmacy Serviceth_TH
dc.subject.keywordสถาปัตยกรรมข้อมูลth_TH
dc.subject.keywordData Architectureth_TH
.custom.citationวิไลลักษณ์ ตันตะโยธิน, Wilailuck Tuntayothin, วรวิทย์ กิตติวงศ์สุนทร, Worawit Kittiwongsunthorn, รุ่งเพ็ชร สกุลบำรุงศิลป์, Rungpetch Sakulbumrungsil, กุลวดี ศรีพานิชกุลชัย, Kunwadee Sripanidkulchai, นุศราพร เกษสมบูรณ์, Nusaraporn Kessomboon, มุกดาวรรณ ประกอบไวทยกิจ, Mukdavan Prakobvaitayakit, สิริลักษณ์ บัวเจริญ, Siriluk Buacharoen, อาทิตย์ สอดแสงอรุณงาม, Atit Sodsangaroonngam, ศิริรัตน์ ตันปิชาติ, Sirirat Tunpichart, จิราพร ลิ้มปานานนท์ and Jiraporn Limpananont. "การพัฒนาแนวทางการดำเนินงานบริการเภสัชกรรมทางไกลในประเทศไทย." 2566. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5858">http://hdl.handle.net/11228/5858</a>.
.custom.total_download1002
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month30
.custom.downloaded_this_year486
.custom.downloaded_fiscal_year80

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v17n ...
ขนาด: 312.8Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย