แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิบนฐานการคลังที่เป็นธรรมและยั่งยืนสําหรับคนไทยถ้วนหน้า

dc.contributor.authorศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัยth_TH
dc.contributor.authorSupasit Pannarunothaith_TH
dc.contributor.authorดิเรก ปัทมสิริวัฒน์th_TH
dc.contributor.authorDirek Patamasiriwatth_TH
dc.contributor.authorศิลา โทนบุตรth_TH
dc.contributor.authorSila Tonbootth_TH
dc.date.accessioned2023-10-10T04:11:05Z
dc.date.available2023-10-10T04:11:05Z
dc.date.issued2566-07
dc.identifier.otherhs3024
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5948
dc.description.abstractปัจจุบันความสำคัญของการขับเคลื่อนนโยบายด้วยข้อมูลในการดูแลสุขภาพ มีความสำคัญเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะกับการปรากฏของข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ประเทศไทย สามารถใช้ประโยชน์จากช่องทางข้อมูลที่หลากหลาย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการด้านสุขภาพปฐมภูมิ สำหรับการศึกษานี้มุ่งเน้นที่จะประเมินความเป็นไปได้ในการพัฒนาระบบข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) สำหรับการดูแลสุขภาพปฐมภูมิในประเทศไทย ซึ่งประกอบด้วย การศึกษาการเข้าถึงและความเป็นไปได้ของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการจัดสรรทรัพยากรและการประเมินความเป็นไปได้ในการทำงานร่วมกันระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียสำหรับความเป็นไปได้ของข้อมูล การทบทวนวรรณกรรมและสัมภาษณ์ ตัวแทนจากหน่วยงานต่างๆ มีการวิเคราะห์เน้นที่ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรด้านสุขภาพ ปัจจัยทางบุคคลและรูปแบบพฤติกรรมที่มีผลต่อข้อมูลสุขภาพ เมื่อพิจารณาถึงความเป็นไปได้ของทรัพยากรได้กำหนดสถานการณ์หลายๆ แบบ สำหรับการรวบรวมข้อมูล ส่วนหนึ่งมาจากการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้เชี่ยวชาญและองค์กรที่เกี่ยวข้อง ซึ่งได้ให้แนวทางสำหรับการพัฒนาเพื่อให้ได้รับประโยชน์สูงสุดจากระบบข้อมูลขนาดใหญ่ นอกจากนี้ยังมีการสนทนากลุ่มเพื่อหารือแนวทางการพัฒนาแนวทางรวมกันของหน่วยงานต่างๆ ผลของการศึกษา พบว่า ด้านความเป็นไปได้ของข้อมูล มีความสำคัญทั้งในด้านสิ่งแวดล้อม สุขภาพและพฤติกรรม ทำให้ได้รับประโยชน์จากข้อมูลที่ครอบคลุม นอกจากนี้การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มเป้าหมายได้เน้นย้ำถึงความกระตือรือร้นขององค์กรที่ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี อย่างไรก็ตามความท้าทายในมาตรฐานของข้อมูลและการทำให้ระบบสามารถทำงานร่วมกันได้ ซึ่งฐานข้อมูลขนาดใหญ่มีประโยชน์เป็นอย่างมาก สรุป การสร้างระบบข้อมูลขนาดใหญ่สำหรับการดูแลสุขภาพปฐมภูมิในประเทศไทยนั้นเหมาะสม เป็นไปได้ เพราะมีข้อมูลที่แข็งแกร่ง อย่างไรก็ตาม ความท้าทายครั้งนี้ขึ้นอยู่กับการทำงานร่วมกันของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เป็นส่วนสำคัญและมีวิสัยทัศน์ มีเป้าหมายร่วมกันและความเข้าใจในศักยภาพที่เปลี่ยนแปลงไปth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectบริการปฐมภูมิ (การแพทย์)th_TH
dc.subjectPrimary Care (Medicine)th_TH
dc.subjectระบบบริการสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Service Systemth_TH
dc.subjectระบบบริการสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Care Systemth_TH
dc.subjectData Analysisth_TH
dc.subjectระบบฐานข้อมูลth_TH
dc.subjectDatabase Systemsth_TH
dc.subjectสารสนเทศทางการแพทย์th_TH
dc.subjectBig Datath_TH
dc.subjectข้อมูลขนาดใหญ่th_TH
dc.subjectระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems)th_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิบนฐานการคลังที่เป็นธรรมและยั่งยืนสําหรับคนไทยถ้วนหน้าth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of Primary Care System on The Sustainable and Equitable Basis for All Thaisth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeAt present, the importance of data-driven policy in healthcare is paramount, especially with the emergence of Big Data. Thailand can benefit from diverse data channels to enhance efficiency in primary healthcare services. This study aimed to assess the feasibility of developing a big data system for primary healthcare in Thailand. This includes exploring access and feasibility of relevant data, resource allocation, and assessing potential collaborations among stakeholders. For data feasibility, we reviewed literature and interviewed various data sources. The analysis focused on environmental factors, health resources, individual factors, and behavioral patterns that affect health data. Regarding resource feasibility, we outlined several scenarios for data aggregation from in-depth interviews with experts and relevant organizations, providing direction for maximum benefit from the big data system. Furthermore, focus group discussions were held to discuss collaborative strategies among different agencies. The study results showed the feasibility of important data in environmental, health, and behavioral health aspects. It was found that there is potential data that could be beneficial and comprehensive. Additionally, interviews and focus group discussions emphasized the enthusiasm of organizations to collaborate effectively. However, challenges in data standardization and system interoperability remain. Yet, there's a consensus on the massive benefits of big data. In conclusion, establishing a big data system for primary healthcare in Thailand is not only appropriate but also feasible with robust data. Nevertheless, this challenge hinges on the collaboration of key stakeholders, driven by a shared vision and understanding of its transformative potential.th_TH
dc.identifier.callnoW84.6 ศ735ก 2566
dc.identifier.contactno64-222
dc.subject.keywordระบบข้อมูลth_TH
dc.subject.keywordระบบข้อมูลสุขภาพth_TH
dc.subject.keywordBig Data Analyticth_TH
.custom.citationศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย, Supasit Pannarunothai, ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์, Direk Patamasiriwat, ศิลา โทนบุตร and Sila Tonboot. "การพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิบนฐานการคลังที่เป็นธรรมและยั่งยืนสําหรับคนไทยถ้วนหน้า." 2566. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5948">http://hdl.handle.net/11228/5948</a>.
.custom.total_download49
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month4
.custom.downloaded_this_year31
.custom.downloaded_fiscal_year6

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs3024.pdf
ขนาด: 2.154Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย