แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

ยุติวัณโรคล้านนา โดยการมีส่วนร่วมของร้านขายยา และคลินิกเอกชนในการคัดกรองและส่งต่อผู้มีอาการวัณโรค

dc.contributor.authorจินตนา งามวิทยาพงศ์-ยาไนth_TH
dc.contributor.authorJintana Ngamvithayapong-Yanaith_TH
dc.contributor.authorดิเรก สุดแดนth_TH
dc.contributor.authorDerek Sutdanth_TH
dc.contributor.authorคณัสนันท์ ศรีวรรณรมย์th_TH
dc.contributor.authorKanassanan Sriwanaromth_TH
dc.contributor.authorณัฐประคัลภ์ หอมนวลth_TH
dc.contributor.authorNatprakan Homnualth_TH
dc.contributor.authorทรามวัย หลวงจินาth_TH
dc.contributor.authorSarmwai Luangjinath_TH
dc.contributor.authorนภัชณันท์ บุญจูth_TH
dc.contributor.authorNaphatchanan Boonjuth_TH
dc.contributor.authorเบญจวรรณ บุญส่งth_TH
dc.contributor.authorBenjawan Boonshongth_TH
dc.contributor.authorบุญชัย ไชยาศิรินทร์โรจน์th_TH
dc.contributor.authorBoonchai Chaiyasirinrojeth_TH
dc.contributor.authorภัสสรา ซาลิซส์th_TH
dc.contributor.authorPhassara Salisth_TH
dc.contributor.authorศราวุธ มณีวงค์th_TH
dc.contributor.authorSarawut Maneewongth_TH
dc.contributor.authorสิริวิมล มณีth_TH
dc.contributor.authorSiriwimon Maneeth_TH
dc.contributor.authorสุรีรัตน์ ท้าวถึงth_TH
dc.contributor.authorSureerut Thawthungth_TH
dc.contributor.authorเอกชัย คนกลางth_TH
dc.contributor.authorEkkachai Konklangth_TH
dc.date.accessioned2023-10-30T07:04:04Z
dc.date.available2023-10-30T07:04:04Z
dc.date.issued2566-09
dc.identifier.otherhs3028
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5959
dc.description.abstractความเป็นมาและวัตถุประสงค์ : จากผลการศึกษาในการดำเนินงานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบความร่วมมือของหลายภาคส่วน เพื่อยุติวัณโรคในเขตเทศบาลเมืองและอำเภอเมือง (ปีที่ 1) ดำเนินการในพื้นที่จังหวัดเชียงราย ในปี พ.ศ. 2562-2563 พบว่า ร้านขายยา/คลินิก ร่วมคัดกรอง/ส่งต่อผู้ป่วย ทำให้ตรวจพบวัณโรครายใหม่สูงถึงร้อยละ 25 (6/24) จึงนำมาสู่การขยายผล โครงการวิจัยปฏิบัติการนี้ ซึ่งดำเนินการใน 8 จังหวัดของเขตสุขภาพที่ 1 ในช่วงที่มีการระบาดหนักของโรคโควิด-19 นักวิจัยปฏิบัติการ (Operational Researcher, OR) เป็นข้าราชการของจังหวัดละ 1 คน มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนารูปแบบการให้ร้านขายยา/คลินิกคัดกรองและส่งต่อผู้ที่เสี่ยงต่อวัณโรคไปโรงพยาบาลเปรียบเทียบผลการดำเนินงานและศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินงานของ 8 จังหวัด วิธีการ : พัฒนาหลักสูตรอบรมวัณโรคออนไลน์และเว็บแอปพลิเคชัน TB-Refer สำหรับร้านขายยาและคลินิกเอกชนใช้คัดกรองและส่งต่อผู้มีความเสี่ยงต่อวัณโรค จากนั้นเก็บข้อมูลนาน 9 เดือน ทำการวิเคราะห์ฐานข้อมูล TB-Refer และสัมภาษณ์เจาะลึกกับร้านขายยา/คลินิก ที่ส่งต่อและไม่ส่งต่อ, นักวิจัย OR, ผู้บริหารงานวัณโรคจังหวัด (Mr.TB), และบุคลากรโรงพยาบาลที่รับส่งต่อ ผลการศึกษา : อัตราการเข้าร่วมโครงการของร้านขายยา 8 จังหวัด เท่ากับร้อยละ 50.4 (143/284) จังหวัดที่เข้าร่วมต่ำสุด 12.7% สูงสุด 100% คลินิกเข้าร่วมโครงการเพียง 4.6% (11/240) ไม่มีคลินิกเข้าร่วม 2 จังหวัด ร้านขายยาเพียงร้อยละ 13.3 (19/143) คัดกรองและส่งต่อกลุ่มเสี่ยง จำนวน 37 ราย คลินิกมีเพียง 2 จาก 11 ร้านที่คัดกรองและส่งต่อ จำนวน 2 ราย รวมจำนวน 39 ราย (มีอาการ 38 เป็นผู้สัมผัสไม่มีอาการ 1) ไปตามการส่งต่อ จำนวน 19 ราย พบวัณโรคปอด จำนวน 1 ราย (ผล AFB 3+) มีร้านขายยา 57 ร้าน คลินิก 5 แห่ง ร่วมการอบรมออนไลน์ คะแนนความรู้เฉลี่ยเกี่ยวกับวัณโรคหลังอบรมของบุคลากรจากร้านขายยา เพิ่มขึ้นจาก 16 (IQR = 4) เป็น 23 (IQR = 2) (p < 0.001) บุคลากรจากคลินิก เพิ่มขึ้นจาก 17.8 (SD 4.5) เป็น 21.8 (SD 2.3) (p = 0.034) ร้านขายยา/คลินิกที่เข้าอบรมออนไลน์คัดกรองและส่งต่อมากกว่าร้านที่ไม่อบรม (22.6% vs 7.6%, p = 0.008) มีเพียง 1 ใน 8 จังหวัดที่มีความสม่ำเสมอในการส่งต่อและสื่อสารต่อเนื่องระหว่าง OR กับร้านขายยา/คลินิก เป็นจังหวัดที่ OR มาจากงานควบคุมโรคที่ได้รับการสนับสนุนดีมากจากงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข (คบส.) รวมทั้ง Mr.TB ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) และ Mr.TB ของโรงพยาบาล (รพ.) ทำให้ รพ. มีช่องทางด่วน (Fast Track) รับผู้ป่วยที่ถูกส่งตัว สรุปผลและข้อเสนอแนะ : มีความเป็นไปได้ที่ร้านขายยาและคลินิกร่วมคัดกรองและส่งต่อผู้ที่เสี่ยงต่อวัณโรค โดยมีผู้ประสานงานจากงานควบคุมโรคของ สสจ. และความร่วมมือที่ดีจากงาน คบส. และผู้บริหารจังหวัด ควรสนับสนุนให้ร้านขายยาและคลินิกรับการอบรมออนไลน์th_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectวัณโรคth_TH
dc.subjectTuberculosisth_TH
dc.subjectวัณโรค--การวินิจฉัยth_TH
dc.subjectTuberculosis--Diagnosisth_TH
dc.subjectTuberculosis--Infectionsth_TH
dc.subjectการตรวจคัดกรองth_TH
dc.subjectวัณโรค--การป้องกันและควบคุมth_TH
dc.subjectTuberculosis--Prevention & Controlth_TH
dc.subjectHealth Policyth_TH
dc.subjectนโยบายสาธารณสุขth_TH
dc.subjectโปรแกรมประยุกต์th_TH
dc.subjectApplication Softwareth_TH
dc.subjectMobile Applicationsth_TH
dc.subjectโทรศัพท์เคลื่อนที่--โปรแกรมประยุกต์th_TH
dc.subjectผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies)th_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleยุติวัณโรคล้านนา โดยการมีส่วนร่วมของร้านขายยา และคลินิกเอกชนในการคัดกรองและส่งต่อผู้มีอาการวัณโรคth_TH
dc.title.alternativeEnd TB-Lanna: An Operational Research to Engage Private Clinics and Rrug Stores to Screen and Refer Persons with Tuberculosis Symptomsth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeBackground: The previous study, entitled “The Development of Multi-Sectoral Approaches to End TB in Municipality and Central District (year 1)" was conducted in Chiangrai province in 2019 and 2020 revealed private pharmacies and clinics contributed to 25% tuberculosis (TB) detection rate (6 of 24 referred cases). Subsequently, this project was extended and implemented in 8 provinces of the Health Region 1 amid the Covid-19 pandemic. The project was coordinated by 8 operational researchers (OR) who are government health staff in provinces. The study aimed to develop a model involving pharmacies/clinics to screen and refer persons with TB risks and to investigate factors contributing to the implementation outcomes among 8 provinces. Methods: Developing two digital innovations, i.e. TB-Refer, a web-application for TB screening and referral and a TB online training course. The data were collected for 9 months and analyzed database of TB-Refer. The qualitative methods included in-depth interviews with OR, provincial TB administrators (Mr.TB), hospital staff and the pharmacies/clinics with and without referral cases. Results: The participation rate of pharmacies in 8 provinces is 50.4% (143/284) with a range of 12.7%-100% participation. Participation from clinics is only 4.6% (11/240) with no-participation in 2 provinces. Of the 143 pharmacies, 19 (13.3%) pharmacies screen and referred 37 persons with TB risk to the hospitals, while 2 out of 11 clinics screen and referred 2 cases made up to a total of 39 referred cases (38 symptomatic cases and 1 asymptomatic contact case). Only 19 referred persons arrived the hospitals and received TB screening and one pulmonary TB with sputum positive (AFB 3+) was detected. Fifty-seven pharmacists and five clinics doctors/staff enrolled and completed this training. The median scores of drug stores were increased from 16 (IQR = 4) to 23 (IQR = 2) (p < 0.001) while the mean scores of clinics were increased from 17.8 (SD 4.5) to 21.8 (SD 2.3) (p = 0.034). Drug stores and clinics completing the course had higher proportion of TB screening and referral cases to the hospitals than those without training (22.6% vs 7.6%, p=0.008). Among 8 provinces, only one province demonstrated regular referral and continuity of communications between OR and pharmacies/clinics. The OR of this province is a staff of disease control department who received excellent support from the department of consumer protection and public health pharmacies (CPHP), including supports from Mr.TB of the hospital and the provincial health office, particularly establishing a hospital’s fast track for referred patients. Conclusion and recommendations: It is feasible to involve drug stores and private clinic to screen and refer persons with TB risks to the hospital. The best model is the project’s coordinator should be a staff of disease control with good support of CPHP and provincial health authorities. Personals of drug stores and clinic should attend the TB online training course.th_TH
dc.identifier.callnoWF200 จ482ย 2566
dc.identifier.contactno64-172
dc.subject.keywordหลักสูตรออนไลน์th_TH
dc.subject.keywordOnline Courseth_TH
dc.subject.keywordเขตสุขภาพth_TH
dc.subject.keywordRegional Health Areath_TH
dc.subject.keywordเขตสุขภาพที่ 1th_TH
dc.subject.keywordRegional Health Area 1th_TH
.custom.citationจินตนา งามวิทยาพงศ์-ยาไน, Jintana Ngamvithayapong-Yanai, ดิเรก สุดแดน, Derek Sutdan, คณัสนันท์ ศรีวรรณรมย์, Kanassanan Sriwanarom, ณัฐประคัลภ์ หอมนวล, Natprakan Homnual, ทรามวัย หลวงจินา, Sarmwai Luangjina, นภัชณันท์ บุญจู, Naphatchanan Boonju, เบญจวรรณ บุญส่ง, Benjawan Boonshong, บุญชัย ไชยาศิรินทร์โรจน์, Boonchai Chaiyasirinroje, ภัสสรา ซาลิซส์, Phassara Salis, ศราวุธ มณีวงค์, Sarawut Maneewong, สิริวิมล มณี, Siriwimon Manee, สุรีรัตน์ ท้าวถึง, Sureerut Thawthung, เอกชัย คนกลาง and Ekkachai Konklang. "ยุติวัณโรคล้านนา โดยการมีส่วนร่วมของร้านขายยา และคลินิกเอกชนในการคัดกรองและส่งต่อผู้มีอาการวัณโรค." 2566. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5959">http://hdl.handle.net/11228/5959</a>.
.custom.total_download23
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year13
.custom.downloaded_fiscal_year2

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs3028.pdf
ขนาด: 2.765Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย