Ethics and Research in Humans
dc.contributor.author | จรวยพร ศรีศศลักษณ์ | en_US |
dc.contributor.author | Jaruayporn Srisasalux | en_US |
dc.coverage.spatial | ไทย | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-11-06T02:41:44Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T15:56:53Z | |
dc.date.available | 2008-11-06T02:41:44Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T15:56:53Z | |
dc.date.issued | 2551 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,3 (ก.ค.-ก.ย. 2551) : 342-344 | en_US |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/689 | en_US |
dc.description.abstract | ในอดีตเคยมีการใช้มนุษย์เป็นหนูทดลองยา และวัคซีนหลายชนิด โดยไม่มีหลักประกันและความคุ้มครองสิทธิที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่นำมาศึกษา วิจัย และทดลองทางการแพทย์และสาธารณสุข. ผู้คนในสังคมทั่วไปหรือแม้แต่ผู้ป่วยจึงกลายเป็นหนูทดลองยาโดยไม่รู้ตัวและยังส่งผลกระทบข้างเคียงให้กับร่างกาย หรือเกิดภาวะโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยอีกด้วย. อย่างไรก็ตาม การวิจัยในมนุษย์เป็นกิจกรรมที่สำคัญและจำเป็นต่อการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะในด้านการแพทย์และสาธารณสุข เป็นหนทางของการได้มาซึ่งความรู้ที่น่าเชื่อถือในเรื่องธรรมชาติของร่างกายมนุษย์ การเกิดโรค การแพร่ระบาดของโรคและการหายจากโรค ตลอดจนการพัฒนาวิธีการวินิจฉัยโรค การรักษา ป้องกัน ส่งเสริม ฟื้นฟู รวมทั้งการพัฒนายาและวัคซีนต่างๆ. นอกจากนี้การวิจัยที่แม้จะไม่มีการกระทำต่อร่างกายของมนุษย์โดยตรง แต่จะต้องสอบถามข้อมูลที่จะก้าวล่วงเข้าไปในเรื่องส่วนบุคคลก็ถือเป็นการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ด้วยเช่นกัน หากแต่การศึกษาวิจัย และทดลองทางการแพทย์และสาธารณสุข โดยเฉพาะในมนุษย์ที่ผ่านมานั้น บางครั้งอาจละเลยด้านจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ อันนำมาซึ่งปัญหามากมายต่อการพัฒนางานวิจัย และก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้คนในสังคม ต่อระบบสาธารณสุข และวงการแพทย์อย่างคาดไม่ถึง การวิจัยในมนุษย์ในประเทศไทยควรได้รับการกำกับดูแลด้านจริยธรรมอย่างมีคุณภาพมาตรฐานและต่อเนื่อง นับตั้งแต่ก่อนเริ่มดำเนินการวิจัย ระหว่างดำเนินการวิจัย และหลังเสร็จสิ้นการวิจัย โดยอาสาสมัครได้รับการคุ้มครองดูแลป้องกันทั้งทางด้านศักดิ์ศรี สิทธิ ความปลอดภัยของอาสาสมัคร/ผู้เข้าร่วมในโครงการวิจัยอย่างถูกต้องและความเป็นอยู่ที่ดี เหมาะสมตามหลักจริยธรรมสากลว่าด้วยการวิจัยในมนุษย์ รวมถึงการส่งเสริมให้การวิจัยในมนุษย์เป็นไปตามหลักจริยธรรมการวิจัยอย่างมีคุณภาพ | th_TH |
dc.format.extent | 85205 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.title | จริยธรรมกับการวิจัยในมนุษย์ | en_US |
dc.title.alternative | Ethics and Research in Humans | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.subject.keyword | จริยธรรม | en_US |
dc.subject.keyword | การวิจัยในมนุษย์ | en_US |
dc.subject.keyword | Ethics | en_US |
dc.subject.keyword | Research in Human | en_US |
.custom.citation | จรวยพร ศรีศศลักษณ์ and Jaruayporn Srisasalux. "จริยธรรมกับการวิจัยในมนุษย์." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/689">http://hdl.handle.net/11228/689</a>. | |
.custom.total_download | 691 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 1 | |
.custom.downloaded_this_year | 34 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 66 |
![]() | ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Articles [1366]
บทความวิชาการ