• การพัฒนาระบบการแพทย์ในการดูแลสุขภาวะของบุคคลข้ามเพศ 

      จิราภรณ์ อรุณากูร; Jiraporn Arunakul; สิระ กอไพศาล; Sira Korpaisarn; รพีพรรณ รัตนวงศ์นรา มอร์ด; Rapeephan Rattanawongnara Maude; คมสันต์ เกียรติรุ่งฤทธิ์; Komsan Kiatrungrit; ณัฐนิตา มัทวานนท์; Natnita Mattawanon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-07-12)
      บทนำ : ในปัจจุบันบุคคลข้ามเพศเป็นที่ยอมรับมากขึ้นในสังคมไทยและเป็นกลุ่มคนที่มีความต้องการในการบริการสุขภาพที่จำเพาะ ระบบบริการสุขภาพบุคคลข้ามเพศยังคงมีปัญหาและอุปสรรคอยู่ วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาสถานการณ์การให้บริการสุข ...
    • การระบุสารระเหยง่ายบ่งชี้และพัฒนาเครื่องตรวจวัดภาวะทางจิตจากเหงื่อแบบพกพา สำหรับคัดกรองปัญหาสุขภาพจิตและโรคทางจิตเวช : การศึกษาพหุสถาบัน 

      ชฎิล กุลสิงห์; Chadin Kulsing; ภัทราวลัย สิรินารา; Patthrarawalai Sirinara; ชาวิท ตันวีระชัยสกุล; Chavit Tunvirachaisakul; Maes, Michael; ณัฐนี ตั้งกิจอนันต์สิน; Nuttanee Tungkijanansin; จามรี สอนบุตร; Jarmmaree Sornboot; ศรัณย์ ศรีคำ; Saran Srikam; เบญจวรรณ ถนอมชยธวัช; Benjawan Thanormchayatawat; มณฑิชา เจนพานิชทรัพย์; Monthichar Chenphanitsub; สิรินาถ มีเจริญ; Sirinat Meecharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-01)
      โครงการนี้ได้พัฒนาวิธีทางเลือกสำหรับตรวจคัดกรองโรคหรือภาวะที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพทางจิต โดยเริ่มจากการทำฐานข้อมูลสารระเหยง่ายและระบุสารระเหยง่ายบ่งชี้ในเหงื่อด้วยเทคนิค Gas Chromatography-Ion Mobility Spectrometry (GC-IMS) ...
    • การวิจัยภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคเบาหวานในประเทศไทย 

      กัตติกา ธนะขว้าง; Kattika Thanakwang; วันทนา ถิ่นกาญจน์; Wantana Thinganjana; รวมพร คงกำเนิด; Roumporn Konggumnerd; อัมพรพรรณ ธีรานุตร; Ampornpan Theeranut (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-07)
      การวิจัยเรื่อง “ภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคเบาหวาน ในประเทศไทย” วัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อศึกษาอุบัติการณ์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล (เพศ อายุ รายได้ การทำงาน สถานภาพสมรส รูปแบบการอยู่อาศัย) ปัจจัยด้านสุขภาพแล ...
    • การศึกษาความเป็นไปได้ในการเพิ่มชุดสิทธิประโยชน์ด้านจิตเวชในประกันสุขภาพสำหรับคนต่างด้าวและบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิในประเทศไทย 

      ศรวณีย์ อวนศรี; Sonvanee Uansri; นิจนันท์ ปาณะพงศ์; Nitjanan Pananpong; ศุภณัฐ โชติชวาลรัตนกุล; Supanut Chotichavalrattanakul; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; วาทินี คุณเผือก; Watinee Kunpeuk; ปวันรัตน์ มิ่งเมือง; Pawanrat Mingmaung; ชญาน์นันท์ ครุตศุทธิพิพัฒนน์; Chayanan Khutsutthipipat; กานติมา วิชชุวรนันท์; Kantima Wichuwaranan; พิกุลแก้ว ศรีนาม; Pigunkaew Sinam; สตพร จุลชู; Sataporn Julchoo (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)
      การศึกษานี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการเพิ่มชุดสิทธิประโยชน์ด้านจิตเวชในประกันสุขภาพ สำหรับคนต่างด้าวและบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิในประเทศไทย เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบายในการนำบริการจิตเวชสู่ ...
    • การศึกษาและพัฒนาภูมิคุ้มกันทางใจวัยสูงอายุโดยการบูรณาการกระบวนการมีส่วนร่วมของครอบครัวและเครือข่ายประชาสังคม 

      เพ็ญนภา กุลนภาดล; Pennapa Koolnaphadol; จุฑามาศ แหนจอน; Juthamas Haenjohn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      รายงานการวิจัยเรื่อง การศึกษาและพัฒนาภูมิคุ้มกันทางใจวัยสูงอายุโดยการบูรณาการกระบวนการมีส่วนร่วมของครอบครัวและเครือข่ายประชาสังคม มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) การศึกษาสภาวการณ์ภูมิคุ้มกันทางใจ (Resilience Quotient) ของผู้สูงอา ...
    • ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อตอบสนองต่อระบบบริการสุขภาพจิตวิถีใหม่ 

      ฐิติพร สุแก้ว; Thitiporn Sukaew; นพพร ตันติรังสี; Nopporn Tantirangsee; พยงค์ เทพอักษร; Phayong Thepaksorn; ภัทรหทัย ณ ลำพูน; Pathathai Na Lumpoon; นภชา สิงห์วีรธรรม; Noppcha Singweratham; เยาวลักษณ์ มีบุญมาก; Yaowaluck Meebunmak; วันดี แสงเจริญ; Wandee Saengjarern; สันติ ประไพเมือง; Sunti Prapaimuang; กีรติ พลเพชร; Keerati Ponpetch; เพ็ญนภา กวีวงศ์ประเสริฐ; Pennapa Kaweewongprasert; ดาวรุ่ง คำวงศ์; Daoroong Komwong; อลิซาเบธ เคลลี่ ฮอม เทพอักษร; Elizabeth Kelly Hom Thepaksorn; นิสารัตน์ สงประเสริฐ; Nisarat Songprasirt; รวิษฎา บัวอินทร์; Rawisada Buain (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-06)
      ความเป็นมาและเหตุผล : การเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ของปัจจัยกำหนดสุขภาพจิตในช่วง “ความไม่ปกติใหม่ (New Abnormal)” ส่งผลให้ต้องมีการต้องประเมินสถานการณ์ระบบข้อมูลสุขภาพจิตและนวัตกรรมทางเลือกที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศเ ...
    • ช่องว่างในการเข้าถึงบริการจิตเวชและภาระทางเศรษฐศาสตร์ ปีที่ 2 

      ตะวันชัย จิรประมุขพิทักษ์; Tawanchai Jirapramukpitak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562)
      วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเปรียบเทียบผลกระทบทางเศรษฐศาสตร์และสังคมจากการป่วยทางจิตเวชเรื้อรังระหว่างผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาแต่เนิ่นๆ และรักษาล่าช้า ระหว่างผู้ที่ป่วยตั้งแต่อายุน้อยและอายุมากและระหว่างผู้ที่ป่วยมานานและไม่นาน ...
    • ช่องว่างในการเข้าถึงบริการจิตเวชและภาระทางเศรษฐศาสตร์: การศึกษาระยะยาวในชุมชน 

      ตะวันชัย จิรประมุขพิทักษ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      วัตถุประสงค์ 1) เพื่อค้นหาความชุกของปัญหาจิตเวชที่พบบ่อยและมีภาระโรคสูงในชุมชน เช่น โรคซึมเศร้า ประสบการณ์อาการโรคจิต ความผิดปกติพฤติกรรมการดื่มสุราและสารเสพติด 2) เพื่อศึกษาปัจจัยทางสังคมที่มีผลต่อปัญหาสุขภาพจิต 3) ...
    • ผลกระทบด้านสุขภาพจิตของประชาชนต่อสถานการณ์ การแพร่ระบาดเชื้อโคโรนาไวรัส (โควิด-19) เขตสุขภาพที่ 5 

      อัมพร เบญจพลพิทักษ์; Amporn Benjapolpitak; ธิติ แสวงธรรม; Thiti Sawangtham; ศรุตพันธุ์ จักรพันธุ์ ณ อยุธยา; Sarutphan Chakkraphan na Ayutthaya; รุจิรา เข็มเพ็ชร; Rujira Kemphet; รักษ์พงศ์ เวียงเจริญ; Rakpong Wiangcharoen; จิรภัทร กัลยาณพจน์พร; Jiraphat Kanlayanaphotporn; ณัฐพงศ์ กาญจนะโกมล; Nattapong Kanchanakomala; อัญญา ปลดเปลื้อง; Unya Plodpluang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      การศึกษาเรื่อง ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของเชื้อโคโรนาไวรัส (COVID-19) เขตสุขภาพที่ 5 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเชิงลึกผลกระทบต่อสุขภาพจิตและปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพจิตของประชาชนในเขตสุขภาพที่ 5 จากสถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ...
    • รายงานการทบทวนวรรณกรรม เรื่อง ระบบบริการจิตเวชครบวงจร 

      โชษิตา ภาวสุทธิไพศิฐ; Chosita Pavasuthipaisit; วิมลวรรณ ปัญญาว่อง; Wimonwan Panyawong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-04)
      วัตถุประสงค์ เพื่อทบทวนวรรณกรรมและบทเรียนของต่างประเทศในการจัดระบบบริการจิตเวชครบวงจรและประเมินความเป็นไปได้เบื้องต้นในการจัดระบบบริการจิตเวชครบวงจรในประเทศไทย ทบทวนโดยการสืบค้นข้อมูล เอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับระบบบ ...
    • แพลตฟอร์มกลางสำหรับการสร้างเครื่องมือบำบัดทางจิตวิทยาด้วยปัญญาประดิษฐ์ 

      กลกรณ์ วงศ์ภาติกะเสรี; Konlakorn Wongpatikaseree (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      ปัญหาสุขภาพจิตส่งผลต่อการดำเนินชีวิตและคุณภาพชีวิตของผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตและคนใกล้ตัว แม้การดูแลสุขภาพจิตจะมีความสำคัญแต่ก็มีข้อจำกัด เช่น ค่าใช้จ่ายสูง และจำนวนบุคลากรด้านสุขภาพจิตไม่เพียงพอ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องพั ...