Browsing Research Reports by Title
Now showing items 1572-1591 of 2427
-
จริยธรรมกับการพัฒนาการประเมินผลกระทบทางสุขภาพในกระบวนการนโยบายสาธารณะของสังคมไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)บทความนี้มีวัตถุประสงค์ต้องการนำเสนอความคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการมีจริยธรรมทางนโยบายสาธารณะในการพัฒนา HIA ที่จะนำไปสู่การใช้ในกระบวนการนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ (healthy public policy process) -
จัดการความรู้ จัดการเครือข่าย : ข้อเสนอปฏิรูประบบและกลไกภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)การอภิปรายเกี่ยวกับกระบวนทัศน์ใหม่ด้านสุขภาพ ที่เกิดขึ้นในวงการสาธารณสุขโดยรวม และในหน่วยงาน องค์กร และบุคลากรที่ทํางานด้านภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ซึ่งมีกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกเป็นหน่วยงานหลักที่สนับสนุ ... -
จากนโยบายสู่การปฏิบัติ : หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย พ.ศ. 2544-2547
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)จากนโยบายสู่การปฏิบัติ : หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย พ.ศ. 2544-2547 ประกอบด้วย 7 บท ได้แก่ บทที่ 1. กระบวนการกําหนดนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า บทนี้จะวิเคราะห์กระบวนการกําหนดนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (Agenda ... -
จากนโยบายสู่การปฏิบัติหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย
(สำนักงาน, 2548) -
จีโนมิกส์ของเชื้อ Methicillin-resistant Staphylococcus aureus สายพันธุ์ที่มีกำเนิดในโรงพยาบาล ชุมชน และปศุสัตว์ เพื่อการประยุกต์ใช้ทางการแพทย์และสาธารณสุข
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)เชื้อ Methicillin-Resistant Staphylococcus Aureus (MRSA) เป็นหนึ่งในแบคทีเรียดื้อยาสำคัญ เนื่องจากมีความหลากหลายทางพันธุกรรมและระบาดวิทยาสูง พบได้ทั่วโลกและสามารถทำให้เกิดการติดเชื้อได้ทั้งในโรงพยาบาล ชุมชนและปศุสัตว์ ... -
จีโนไทป์ของยีนเอชแอลเอคลาสหนึ่งและสองโดยเทคโนโลยีการวิเคราะห์ลำดับเบสแบบโมเลกุลเดี่ยวในผู้ป่วยไทยที่ได้รับการปลูกถ่ายไต
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)การปลูกถ่ายอวัยวะเป็นวิธีการรักษาที่ช่วยต่อชีวิตใหม่ให้แก่ผู้ป่วยที่หมดหวังที่จะรักษาด้วยวิธีการอื่นๆ เพื่อให้มีชีวิตอยู่ต่อไปได้ ไตเป็นอวัยวะที่มีการปลูกถ่ายมากที่สุดในประเทศไทยตลอดระยะเวลากว่า 50 ปีที่ผ่านมา ถึงแม้ว่าว ... -
ฉากทัศน์อนาคตระบบสุขภาพไทยใน 10 ปีข้างหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)การวิจัยเชิงอนาคตครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสถานการณ์และแนวโน้มของปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อระบบสุขภาพ 2) ศึกษาฉากทัศน์ความเป็นไปได้ของระบบสุขภาพในอีก 10 ปีข้างหน้า และ 3) สังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายด้านระบบสุขภา ... -
ชายรักชาย
(สามเจริญพาณิชย์, 2546)หนังสือเรื่อง ชายรักชาย เล่มนี้ สำเสนอเรื่องนี้เพื่อให้สังคมเข้าใจชาย รักร่วมเพศ หรือ ชายรักชาย รวมทั้งให้ชายรักร่วมเพศเองเข้าใจตนเองดีขึ้น เพื่อให้สังคมเปลี่ยนจากสังคม Homophobia เป็นสังคมที่เข้าใจและยอมรับชายรักร่วมเพศ ... -
ชีวิต สุขภาพ และ การเข้าถึงระบบสุขภาพของประชากรกลุ่มเปราะบางในเมือง: การศึกษากลุ่มผู้สูงอายุที่เป็นแรงงานย้ายถิ่นในกรุงเทพมหานคร
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07)โครงการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนสถานการณ์ปัญหาด้านสุขภาพและการเข้าถึงระบบสุขภาพของประชากรกลุ่มเปราะบางในเมืองในประเทศไทย และเพื่อศึกษาพัฒนาโจทย์วิจัยทางด้านสุขภาพ และการเข้าถึงระบบสุขภาพของประชากรกลุ่มเปราะบางในเ ... -
ชีวิตคู่(ไม่)รู้กัน
(สารคดี, 2546)ครอบครัวเป็นแหล่งหล่อหลอมกล่อมเกลาและฟูมฟักให้ผู้คนพัฒนาทักษะทางสังคมและจิตวิญญาณ เป็นฐานรากสำหรับก่อสร้างรูปลักษณ์ของคนในสังคมรุ่นต่อๆ ไป งานวิจัยนี้เจาะลึกถึงอดีตที่บ่มเพาะจิตใจและทัศนะทางสังคมของคนจริงๆ ในสังคม ... -
ชีวิตและสุขภาพของเด็กต่างด้าวและการเข้าถึงบริการสาธารณสุข
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07)โครงการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ปัญหา สาเหตุและแนวทางการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงสังคม มีเป้าหมายในการสร้างสังคมแห่งการเกื้อกูล ไม่ทอดทิ้งกัน โดยผ่านชุดการวิจัยเกี่ยวกับกลุ่มเป้าหมาย ... -
ชุดความรู้ที่สัมพันธ์กับมิติจิตวิญญาณ (Spiritual dimension) ที่เกี่ยวข้องกับทางสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)มีความพยายามเสนอให้เพิ่ม “สุขภาวะทางวิญญาณ” เข้าในคำจำกัดความคำว่าสุขภาพขององค์การอนามัยโลกอย่างเป็นทางการ มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2526 โดยสมาชิกจากประเทศในภูมิภาคเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออก ข้อเสนอดังกล่าวมีทั้งผู้สนับสนุนและคัดค้าน ... -
ชุดเครื่องมือวัดความเป็นธรรมเพื่อประเมินผลการปฏิรูประบบสุขภาพไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)ชุดเครื่องมือวัดความเป็นธรรมเพื่อประเมินผลการปฏิรูประบบสุขภาพไทย การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบการนำเครื่องมือนี้ไปใช้ในการประเมินผลการปฏิรูประบบสาธารณสุขของจังหวัดภายใต้โครงการปฏิรูประบบสาธารณสุขที่ได้รับการสนับสนุ ... -
ชุมชนกับการคัดกรองโรคเบาหวาน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)มาตรการหนึ่งที่ใช้ในการควบคุมโรคเบาหวานคือ การตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน ณ สถานบริการสุขภาพ จากจำนวนผู้ป่วยที่มีรายงานต่ำกว่าพื้นที่อื่นๆ ของหมู่บ้านสนามแจ้ง ตำบลไพร อำเภอขุนหาญ โรงพยาบาลขุนหาญจึงได้ทำการศึกษาการมีส่วนร่วมของ ... -
ชุมชนกับการปกครองชีวญาณ : กลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีในภาคเหนือของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)หนังสือเล่มนี้ เป็นการศึกษาทางด้านมานุษยวิทยา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทำความเข้าใจกับความพยายามในการดำรงไว้ซึ่งการมีชีวิตและสุขภาพที่ดีของตนเองเมื่อต้องเผชิญกับความเจ็บป่วยและความทุกข์ภายใต้สถานการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงของร ... -
ชุมชนกับการใช้สารเคมีในภาคการเกษตร
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)การศึกษาเรื่องชุมชนกับการใช้สารเคมีในภาคการเกษตรครั้งนี้ เป็นงานศึกษาโดยใช้วิธีการสืบคืนข้อมูลจากการพูดคุยกับชาวบ้านในฐานะที่เป็นเกษตรกรที่ทำการผลิตในระดับชุมชน โดยเน้นไปที่เกษตรกรในฐานะผู้ใช้สารเคมี การศึกษาครั้งนี้เป็น ... -
ชุมชนร่วมสร้างสุขภาพเด็ก 0-12 ปี บ้านน้ำคา หมู่ที่ 1 ตำบลพญาแก้ว อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)โครงการวิจัยชุมชนร่วมสร้างสุขภาพเด็ก 0-12 ปี หมู่บ้านน้ำคา หมู่ที่ 1 ตำบลพญาแก้ว อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน มีวัตถุประสงค์ 4 ประการ คือ 1. เพื่อแก้ไขปัญหาภาวะเด็กขาดสารอาหาร ในเด็ก 0 – 5 ปี ของบ้านน้ำคา ระดับ 1 ไม่เกินร้อยละ ... -
ช่องว่างในการเข้าถึงบริการจิตเวชและภาระทางเศรษฐศาสตร์ ปีที่ 2
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562)วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเปรียบเทียบผลกระทบทางเศรษฐศาสตร์และสังคมจากการป่วยทางจิตเวชเรื้อรังระหว่างผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาแต่เนิ่นๆ และรักษาล่าช้า ระหว่างผู้ที่ป่วยตั้งแต่อายุน้อยและอายุมากและระหว่างผู้ที่ป่วยมานานและไม่นาน ... -
ช่องว่างในการเข้าถึงบริการจิตเวชและภาระทางเศรษฐศาสตร์: การศึกษาระยะยาวในชุมชน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)วัตถุประสงค์ 1) เพื่อค้นหาความชุกของปัญหาจิตเวชที่พบบ่อยและมีภาระโรคสูงในชุมชน เช่น โรคซึมเศร้า ประสบการณ์อาการโรคจิต ความผิดปกติพฤติกรรมการดื่มสุราและสารเสพติด 2) เพื่อศึกษาปัจจัยทางสังคมที่มีผลต่อปัญหาสุขภาพจิต 3) ... -
ฐานข้อมูลจีโนมของเชื้อก่อโรคประจำถิ่น Pythium Insidiosum เพื่อการศึกษาความหลากหลายทางพันธุศาสตร์และโปรตีนที่ไม่ทราบหน้าที่ สำหรับการค้นหากระบวนการใหม่ของเซลล์ การก่อโรค และการวินิจฉัยและการรักษาการติดเชื้อ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-09)เชื้อ P. insidiosum เป็นเชื้อในกลุ่ม oomycetes ที่สามารถก่อโรค pythiosis ในคนและสัตว์ มีรายงานการพบโรคนี้มากขึ้นทั่วโลก ประเทศไทยเป็นประเทศหนึ่งที่มีโรค pythiosis ชุก การวินิจฉัยทำได้ยาก การรักษายังเป็นปัญหาเนื่องจากไม่ม ...