Now showing items 1635-1654 of 2427

    • ทบทวนการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุขให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 

      ปรีดา แต้อารักษ์; Preeda Tae-arak; นิภาพรรณ สุขศิริ; รำไพ แก้ววิเชียร; กิรณา แต้อารักษ์; Niphapan Suksiri; Rampai Kaeowwichian (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      จากการทบทวนพบว่า การดำเนินการถ่ายโอนงานสาธารณสุขล่าช้า ขาดการเตรียมความพร้อมให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(อบจ.) ยังไม่มีโครงสร้างการบริหารงานสาธารณสุขขอองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) ชั้น 1 และเทศบาล เท่านั้นที่มีส่วนสาธา ...
    • ทบทวนการปฏิรูประบบสาธารณสุขในประเทศสิงคโปร์ 

      สุพัตรา ศรีวณิชชากร; Supattra Srivanichakorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      ทบทวนการปฏิรูประบบสาธารณสุขในประเทศสิงคโปร์การพัฒนาระบบสุขภาพในประเทศสิงคโปร์ เริ่มมีการพัฒนาเต็มที่ตั้งแต่สิงคโปร์มีการเลือกตั้งรัฐบาลบริหารของตนเองเมื่อปี ค.ศ.1959 โดยการดำเนินการทางด้านสาธารณสุขเพื่อลดปัญหาโรคระบาด ...
    • ทบทวนตัวชี้วัดระบบยาของประเทศ ต่างประเทศ และองค์กรระหว่างประเทศ 

      ศูนย์สารสนเทศและวิจัยระบบยา (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2550)
      ศึกษาทบทวนตัวชี้วัดระบบยาของประเทศไทย ต่างประเทศ และองค์กรระหว่างประเทศ ได้แก่ องค์การอนามัยโลก สหภาพยุโรป แคนาดา สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย
    • ทบทวนประสิทธิผลและแนวทางการรักษาโรคกระดูกพรุนของกลุ่มยารักษาโรคกระดูกพรุน 

      ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; บัญญัติ สิทธิธัญกิจ; ชุติมาภรณ์ ไชยสงค์ (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2555-05)
      โรคกระดูกพรุนเป็นภาวะที่มวลกระดูกต่ำร่วมกับการเสื่อมของโครงสร้างระดับจุลภาคของกระดูกเป็นผลให้กระดูกมีความเปราะบาง ซึ่งเสี่ยงต่อการหักได้ง่าย โดยเฉพาะตำแหน่งของกระดูกสะโพก กระดูกสันหลัง และกระดูกข้อมือ การวินิจฉัยโรคกระดู ...
    • ทบทวนมาตราการและนโยบายด้านเพศภาวะและเอดส์ในประเทศไทย 

      วิระดา สมสวัสดิ์; Virada Somswasdi (Women's Studies Center, Faculty of Social Sciences, Chiangmai University, 2547)
      การศึกษานี้มุ่งศึกษาทบทวนทบทวนมาตราการและนโยบายด้านเพศภาวะและเอดส์ในประเทศไทย ผู้เขียนตั้งสมมุติฐานว่า การจัดการปัญหาโรคเอดส์และการแพร่ระบาดของเอชไอวี/เอดส์ นั้นเป็นประเด็นเกี่ยวข้องกับอคติของสังคมที่มีต่อกลุ่มคนชายขอบเช่น ...
    • ทบทวนระบบส่งต่อผู้ป่วยมะเร็งของศูนย์รังสีวิทยา ภายใต้ความร่วมมือระหว่างโรงพยาบาลราชบุรี ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล 

      ประพัฒน์ สุริยผล; Parpat Suriyaphol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      ปัจจุบันการนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีบทบาทในการพัฒนาระบบหรือ e-health ซึ่งริเริ่มโดยองค์การอนามัยโลก ที่ต้องการใช้ประสิทธิภาพของเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการให้บริการด้านสุขภาพและเชื่อมโยงระหว่างผู้ป่วยกับผู้ให้บริ ...
    • ทบทวนสถานการณ์ปัจจุบันของภาวะเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย 

      วัชรี โชคจินดาชัย; Watcharee Chokejindachai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      The effective control of infectious diseases is seriously threatened by the sustained increase in the number of antimicrobial resistant microorganisms. Once resistance has emerged in a population, it can spread geographically. ...
    • ทบทวนสถานการณ์ปัญหาของระบบคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ และศึกษากรณีตัวอย่างของผู้ประสบภัยจากรถ 

      มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค (2551)
      การคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถเริ่มเกิดขึ้นในประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ. 2535 มีผลบังคับใช้ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ ซึ่งเป็นระบบการประกันภัยภาคบังคับ กําหนดให้เจ้าของรถหรือผู้ครอบครองรถทุกคันที่ใช้อยู่ต้องทําประกั ...
    • ทบทวนสภาพปัญหาและการวิจัยเกี่ยวกับระบบยาของประเทศไทย : เอกสารประกอบการประชุมระดมสมองจัดทำแผนงานศึกษาวิจัยและพัฒนาระบบยา 

      ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sriphan Tantiwet; กระทรวงสาธารณสุข. สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์; Misnistry of Public Health. Bureau of Health Policy and Strategy (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      ระบบยามีองค์ประกอบย่อยอันได้แก่ องค์กร บุคคล กระบวนการ และการดําเนินกิจกรรมที่มีความหลากหลายและซับซ้อน นอกจากนี้ระบบยายังมีความสัมพันธ์กับปัจจัยทั้งภายในและภายนอกระบบสุขภาพในหลายลักษณะ ดังนั้น การพัฒนาระบบยาจึงจําเป็นต้อ ...
    • ทะเบียนประสาทหูเทียมในประเทศไทย ระยะที่ 1 

      พรเทพ เกษมศิริ; สุรเดช จารุจินดา; วิราภรณ์ อัจฉริยะเสถียร; ขวัญชนก ยิ้มแต้; สายสุรีย์ นิวาตวงศ์; จรินรัตน์ ศิริรัตนพันธ์; สมชาย ศรีร่มโพธิ์ทอง; จิตรสุดา วัชรสินธุ์; สมุทร จงวิศาล; พนิดา ธนาวิรัตนานิจ; มานัส โพธาภรณ์; สุวัจนา อธิภาส; ภาธร ภิรมย์ไชย; ดาวิน เยาวพลกุล; กัญญ์ทอง ทองใหญ่; เสาวรส ภทรภักดิ์; นภัสถ์ ธนะมัย; ศรัญ ประกายรุ้งทอง; เพิ่มทรัพย์ อิสีประดิฐ; วิชิต ชีวเรืองโรจน์; ศิริพร ลิมป์วิริยะกุล; ภาณินี จารุศรีพันธุ์; กฤษณา เลิศสุขประเสริฐ; กนกรัตน์ สุวรรณสิทธิ์; จารึก หาญประเสริฐพงษ์; ศิวะพร เกียรติธนะบำรุง; ตุลกานต์ มักคุ้น; สุวิชา แก้วศิริ; ทศพร อัจฉราเจริญยิ่ง; ศณัฐธร เชาวน์ศิลป์; วันดี ไข่มุกด์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561)
      การวิจัยนี้เป็นการวิจัยพัฒนาระบบทะเบียนการให้บริการผ่าตัดฝังประสาทหูเทียมและการฟื้นฟูสมรรถภาพของประเทศไทย ซึ่งแบ่งเป็น 3 ระยะในเวลา 5 ปี ประกอบด้วย ระยะที่ 1 เป็นการสร้างความร่วมมือกำหนดแนวทางมาตรฐานการให้บริการ ...
    • ทะเบียนประสาทหูเทียมในประเทศไทย ระยะที่ 2 

      ภาธร ภิรมย์ไชย; สุรเดช จารุจินดา; วิราภรณ์ อัจฉริยะเสถียร; ขวัญชนก ยิ้มแต้; สายสุรีย์ นิวาตวงศ์; จรินรัตน์ ศิริรัตนพันธ์; พรเทพ เกษมศิริ; จิตรสุดา วัชรสินธุ์; สมุทร จงวิศาล; สมชาย ศรีร่มโพธิ์ทอง; มานัส โพธาภรณ์; สุวัจนา อธิภาส; พนิดา ธนาวิรัตนานิจ; ดาวิน เยาวพลกุล; กัญญ์ทอง ทองใหญ่; เสาวรส ภทรภักดิ์; นภัสถ์ ธนะมัย; ศรัญ ประกายรุ้งทอง; เพิ่มทรัพย์ อิสีประดิฐ; วิชิต ชีวเรืองโรจน์; ศิริพร ลิมป์วิริยะกุล; ภาณินี จารุศรีพันธุ์; กฤษณา เลิศสุขประเสริฐ; กนกรัตน์ สุวรรณสิทธิ์; จารึก หาญประเสริฐพงษ์; ศิวะพร เกียรติธนะบำรุง; ตุลกานต์ มักคุ้น; สุวิชา แก้วศิริ; ทศพร อัจฉราเจริญยิ่ง; ศณัฐธร เชาวน์ศิลป์; วันดี ไข่มุกด์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      การผ่าตัดฝังประสาทหูเทียมเป็นการรักษาทางเลือกเดียวในปัจจุบัน ซึ่งมุ่งแก้ไขความพิการทางการได้ยินของผู้ที่มีปัญหาการได้ยินทั้งสองข้างในระดับหูหนวกสนิทได้ แต่เนื่องจากการผ่าตัดชนิดนี้โดยเฉพาะอุปกรณ์ประสาทหูเทียมมีค่าใช้จ่าย ...
    • ทะเบียนประสาทหูเทียมในประเทศไทย ระยะที่ 3 

      ภาธร ภิรมย์ไชย; ขวัญชนก ยิ้มแต้; พรเทพ เกษมศิริ; สมชาย ศรีร่มโพธิ์ทอง; พนิดา ธนาวิรัตนานิจ; เสาวรส ภทรภักดิ์; เพิ่มทรัพย์ อิสีประดิฐ; ภาณินี จารุศรีพันธุ์; จารึก หาญประเสริฐพงษ์; สุวิชา แก้วศิริ; ศณัฐธร เชาวน์ศิลป์; สุรเดช จารุจินดา; สายสุรีย์ นิวาตวงศ์; จิตรสุดา วัชรสินธุ์; มานัส โพธาภรณ์; ดาวิน เยาวพลกุล; นภัสถ์ ธนะมัย; วิชิต ชีวเรืองโรจน์; กฤษณา เลิศสุขประเสริฐ; ศิวะพร เกียรติธนะบำรุง; ทศพร อัจฉราเจริญยิ่ง; วันดี ไข่มุกด์; วิราภรณ์ อัจฉริยะเสถียร; จรินรัตน์ ศิริรัตนพันธ์; สมุทร จงวิศาล; สุวัจนา อธิภาส; กัญญ์ทอง ทองใหญ่; ศรัญ ประกายรุ้งทอง; ศิริพร ลิมป์วิริยะกุล; กนกรัตน์ สุวรรณสิทธิ์; ตุลกานต์ มักคุ้น; นิชธิมา ฉายะโอภาส (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      การผ่าตัดฝังประสาทหูเทียมเป็นการรักษาทางเลือกเดียวในปัจจุบัน ซึ่งมุ่งแก้ไขความพิการทางการได้ยินของผู้ที่มีปัญหาการได้ยินทั้งสองข้างในระดับหูหนวกสนิทได้ แต่เนื่องจากการผ่าตัดชนิดนี้โดยเฉพาะอุปกรณ์ประสาทหูเทียมมีค่าใช้จ่าย ...
    • ทะเบียนผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน 

      จาดศรี ประจวบเหมาะ; Chadsri Phajuabmo; กัมปนาท วีรกุล; รังสฤษฎ์ กาญจนะวณิชย์; Kamphanat Weerakul; Rangsarit Khanchanawanit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      โครงการทะเบียนผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ก่อตั้งขึ้นเพื่อศึกษาทางระบาดวิทยาการดําเนินโรคทางคลินิก ประเมินมาตรฐานการักษาโรคกกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันในประเทศไทย โดยเริ่มเก็บข้อมูลตั้งแต่เดือนสิงหาคม พ.ศ. ...
    • ทะเบียนผู้ป่วยมะเร็งเด็ก ระยะที่ 1 : ระบาดวิทยาและการดำเนินโรค 

      รัชฎะ ลำกูล; สมาคมโลหิตวิทยาแห่งประเทศไทย; Thai Society of Hematology; Thai Pediatric Oncology Group, Thai (POG); ชมรมโรคมะเร็งเด็ก (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      โครงการวิจัยมะเร็งเด็ก ได้ทําทะเบียนผู้ป่วยมะเร็งเด็กทุกชนิดโดยลงทะเบียนครอบคลุมผู้ป่วยมะเร็งทุกรายที่มีภูมิลําเนาในประเทศไทย การทราบชนิดและอุบัติการณ์ของโรคมะเร็งเด็กจะเป็นข้อมูลที่สําคัญในการวางแผนการศึกษาและการรักษาผู้ป่วยต่อไป ...
    • ทัศนคติของบุคลากรสุขภาพต่อการให้บริการสุขภาพแก่คนต่างด้าวและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง 

      อรอนงค์ วิชัยคำ; Orn-Anong Wichaikhum; กุลวดี อภิชาติบุตร; Kulwadee Abhicharttibutra; อภิรดี นันท์ศุภวัฒน์; Apiradee Nantsupawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-01)
      การวิจัยนี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาแบบหาปัจจัยทำนาย (Descriptive Predictive Design) ใช้วิธีรวบรวมข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ในเชิงปริมาณเป็นการศึกษาทัศนคติของบุคลากรสุขภาพต่อการให้บริการสุขภาพคนต่างด้าว เปรียบเทียบท ...
    • ทัศนคติต่อแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย ตามมิติด้านสาธารณสุข ด้านเศรษฐกิจ และด้านความมั่นคงของประเทศ 

      ยงยุทธ แฉล้มวงษ์; Yongyuth Chalamwong; สิริมา มงคลสัมฤทธิ์; Sirima Mongkolsomlit; สราวุธ ไพฑูรย์พงษ์; Srawooth Paitoonpong; กัญญาภัค เงาศรี; Kanyaphak Ngaosri; ขวัญกมล ถนัดค้า; Kwankamon Thanadkah; ราตรี ประสมทรัพย์; Ratree Prasomsup; อัจฉรียา ตันมันทอง; Achareeya Tunmuntong; สุนีย์ แซ่คู; Sunee Sae-Khoo (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09-14)
      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ได้ให้ความสำคัญที่จะพัฒนาแนวทางการจัดการและปรับปรุงระบบหลักประกันและบริการทางสุขภาพให้แก่แรงงานข้ามชาติในประเทศไทย โดยอาศัยองค์ความรู้และข้อมูลเชิงประจักษ์เป็นฐานสู่การพัฒนาตามแผนงานวิจัย ...
    • ทัศนคติและระดับความมั่นใจในการทำงานนิติเวชศาสตร์ของแพทย์ทั่วไปในภาคใต้ตอนบน 

      สุรศักดิ์ วิจิตรพงศ์จินดา; Surasak Vijitpongjinda; อภิชัย วรรธนะพิศิษฐ์; Apichai Wattanapisit; อุดมศักดิ์ แซ่โง้ว; Udomsak Saengow; มุกดาวัลล์ สุขัง; Mukdawan Sukhang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      งานนิติเวชศาสตร์ในประเทศไทยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานของแพทย์ประกอบด้วย 2 ส่วนหลักคือ งานด้านการชันสูตรพลิกศพและงานนิติเวชคลินิก ซึ่งทั้งสองส่วนนี้มีความเกี่ยวข้องกับประมวลกฎหมายอาญา ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและ ...
    • ทางเลือกของการบริหารจัดการคลินิกชุมชนอบอุ่นในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติในเขตกรุงเทพมหานคร 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12-30)
      เหตุการณ์การยกเลิกสัญญาคลินิกชุมชนอบอุ่นในพื้นที่กรุงเทพมหานครโดยสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ในช่วงปลายปีงบประมาณ 2563 อันเป็นผลมาจากการตรวจพบความผิดปกติของการเบิกจ่ายในระบบของ สปสช. ทำให้เกิดคำถามสำคัญว่าจะ ...
    • ทางเลือกเชิงนโยบาย เรื่องกองทุนสร้างเสริมความสัมพันธ์ที่ดีในระบบบริการสาธารณสุข 

      ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; หทัยชนก สุมาลี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-07)
      ผลการรักษาหรืออาการที่ไม่พึงประสงค์จากการรับบริการทางด้านสาธารณสุข ไม่ว่าจะเกิดจากเหตุสุดวิสัยหรือความประมาทของผู้ให้บริการทางการแพทย์ก็ตาม นำมาซึ่งความสูญเสียและความขัดแย้งระหว่างผู้รับบริการและผู้ให้การรักษา ซึ่งมีผลกร ...
    • ทางเลือกเชิงนโยบายในการผลิตกำลังคนด้านสุขภาพในสองทศวรรษหน้า 

      สถาบันพระบรมราชชนก; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; สำนักนโยบายและแผนสาธารณสุข; Praboromarajchanok Insititute; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2540)
      รายงานการศึกษาวิจัยเพื่อการพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ เรื่องทางเลือกเชิงนโยบายในการผลิตกำลังคนด้านสุขภาพ ในสองทศวรรษหน้าการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบัน และแนวโน้มในอนาคตของระบบสาธารณสุขซึ่งจะเชื ...