Now showing items 112-131 of 2320

    • การคลังเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ 

      นวลอนันต์ ตันติเกตุ; Nuan-Anan Tantigate; กิตยา มั่งเรือน; จงกล เลิศเธียรดำรง; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      การคลังเพื่อการส่งเสริมสุขภาพการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์สำคัญเพื่อแสดงภาพปริมาณรายจ่ายรวม รายจ่ายต่อหัวประชากรและรายจ่ายที่เป็นสัดส่วนของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (Gross Domestic Product)ที่จ่ายในกิจกรรมเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ ...
    • การควบคุมกำกับและประเมินผล โครงการพัฒนารูปแบบและกลไกรณรงค์เพื่อป้องกันปัญหาเอดส์ในกลุ่มชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย 

      วันเพ็ญ แก้วปาน; สุวิมล แทนพระเดช; สมชาย ศรีเปลี่ยนจันทร์; อรพรรณ แสงวรรณลอย; ปาหนัน พิชยภิญโญ; ธเนศ กาญธีรานนท์; ศรันยา บุญใหญ่ (โครงการพัฒนารูปแบบและกลไกรณรงค์เพื่อป้องกันปัญหาเอดส์, 2553-12)
      การวิจัยโครงการพัฒนารูปแบบและกลไกเพื่อป้องกันเอดส์: โครงการการกำกับ ติดตาม ผลการดำเนินกลุ่มเป้าหมายชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย นี้เป็นการวิจัยลักษณะกึ่งเชิงปฏิบัติการซึ่งมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา 1) ผลสำเร็จของการดำเนินงาน ...
    • การควบคุมกำกับและประเมินผล โครงการพัฒนารูปแบบและกลไกรณรงค์เพื่อป้องกันปัญหาเอดส์ในกลุ่มเยาวชนและกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ กลุ่มศาสนาพุทธ มจร. 

      สุวัฒน์ ศรีสรฉัตร์; กนิษฐา จำรูญสวัสดิ์; นุชวรรณ์ บุญเรือง; สุนันท์ จำรูญสวัสดิ์; เกรียงไกร ยอดเรือน; สิทธิกร รองสำลี (โครงการพัฒนารูปแบบและกลไกรณรงค์เพื่อป้องกันปัญหาเอดส์, 2553-12)
      เอดส์เป็นปัญหาสาธารณสุขที่มีความสำคัญที่สุดปัญหาหนึ่งของประเทศไทย เพราะยังคงมีความชุกอยู่ในระดับสูง แม้ว่าอัตราอุบัติการที่พบผู้ป่วยรายใหม่จะลดลง จากรายงานการเฝ้าระวังโรคของสำนักวัณโรค โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และโรคเอดส์ก ...
    • การควบคุมกำกับและประเมินผล โครงการพัฒนารูปแบบและกลไกรณรงค์เพื่อป้องกันปัญหาเอดส์ในกลุ่มเยาวชนและกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ(กลุ่มศาสนามุสลิม) 

      กนิษฐา จำรูญสวัสดิ์; สุวัฒน์ ศรีสรฉัตร์; นุชวรรณ์ บุญเรือง; สุนันท์ จำรูญสวัสดิ์; เกรียงไกร ยอดเรือน; สิทธิกร รองสำลี (โครงการพัฒนารูปแบบและกลไกรณรงค์เพื่อป้องกันปัญหาเอดส์, 2553-12)
      เอดส์เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ ก่อให้เกิดการป่วยและการตายก่อนวัยอันสมควร ประเทศต้องสูญเสียค่าใช้จ่ายในการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ขณะที่ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ถูกตีตราแบ่งแยกจากสังคม เนื่องจากชุมชนส่วนใหญ่ย ...
    • การควบคุมกำกับและประเมินผลโครงการพัฒนารูปแบบและกลไกรณรงค์เพื่อป้องกันปัญหาเอดส์ในกลุ่มผู้ใช้สารเสพติด 

      เพ็ญพักตร์ อุทิศ; อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง; ดรุณี ภู่ขาว; จิตรา อ่อนน้อม; พัชชราวลัย กนกจรรยา; กิติยา พรมอ่อน (โครงการพัฒนารูปแบบและกลไกรณรงค์เพื่อป้องกันปัญหาเอดส์, 2553-12)
      การวิจัยประเมินโครงการในครั้งนี้ประยุกต์กรอบแนวคิดการประเมินโครงการทางด้านสุขภาพของศูนย์ป้องกันและควบคุมโรคแห่งสหรัฐอเมริกา(Centers for Disease Control and Prevention 1999) ซึ่งกล่าวถึงกระบวนการประเมินโครงการที่ประกอบด้วย ...
    • การควบคุมกำกับและประเมินผลโครงการพัฒนารูปแบบและกลไกรณรงค์เพื่อป้องกันปัญหาเอดส์ในกลุ่มพนักงานบริการ 

      สุขุม เจียมตน; อรพรรณ แสงวรรณลอย; กนกศักดิ์ วงศ์เป็ง; เบญจพร ยังวิเศษ (โครงการพัฒนารูปแบบและกลไกรณรงค์เพื่อป้องกันปัญหาเอดส์, 2553-12)
      โครงการวิจัยการควบคุมกำกับและประเมินผลฯ ที่ได้ดำเนินการในกลุ่มพนักงานบริการ มีวัตถุประสงค์โดยสรุป คือ 1) เพื่อการกำกับ ติดตาม ประเมินผลและกลไกรณรงค์เพื่อป้องกันเอดส์ในกลุ่มเครือข่ายพนักงานบริการ โดยพิจารณาจากสัมฤทธิผลของโครงการ ...
    • การควบคุมกำกับและประเมินผลโครงการพัฒนารูปแบบและกลไกรณรงค์เพื่อป้องกันปัญหาเอดส์ในกลุ่มเครือข่ายองค์กรและเครือข่ายผู้ติดเชื้อ 

      สมบัติ แทนประเสริฐสุข; ชีวนันท์ เลิศพิริยสุวัฒน์; นิรมล ปัญสุวรรณ; ศรินยา พงศ์พันธ์; อุษา โถหินัง (โครงการพัฒนารูปแบบและกลไกรณรงค์เพื่อป้องกันปัญหาเอดส์, 2553-12)
      เครือข่ายผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์และเครือข่ายองค์กรพัฒนาเอกชนด้านเอดส์ได้ริเริ่มดำเนินงานโครงการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีโดยการพัฒนาองค์ความรู้ และกระบวนการเชื่อมโยงเครือข่ายต่างๆ ในพื้นที่ให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดทำแผ ...
    • การควบคุมกำกับและประเมินผลโครงการพัฒนารูปแบบและกลไกรณรงค์เพื่อป้องกันปัญหาเอดส์ในกลุ่มเป้าหมายประชากรเคลื่อนย้ายและชาติพันธุ์ 

      ภัทระ แสนไชยสุริยา; ปาหนัน พิชยภิญโญ; ภูษิตา อินทรประสงค์; ปิยะธิดา สมุทรประภูติ; พงษ์เดช สารการ; รัชนี มิตกิตติ; อุษา โถหินัง (โครงการพัฒนารูปแบบและกลไกรณรงค์เพื่อป้องกันปัญหาเอดส์, 2553-12)
      วัตถุประสงค์ 1. เพื่อประเมินการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์ของโครงการเข้าถึงประชากรเคลื่อนย้ายและเข้าถึงยากต่างด้าว เพื่อป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งโครงการมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1.1 เพื่อเสริมสร้างความรู้เ ...
    • การควบคุมกำกับและประเมินผลโครงการพัฒนารูปแบบและกลไกรณรงค์เพื่อป้องกันปัญหาเอดส์ในกลุ่มเยาวชน 

      ภูษิตา อินทรประสงค์; ภัทระ แสนไชยสุริยา; อาภาพร เผ่าวัฒนา; มณฑา เก่งการพานิช; นันทวัน ยันตะดิลก; พงษ์เดช สารการ; นุชวรรณ์ บุญเรือง; สิทธิกร รองสำลี (โครงการพัฒนารูปแบบและกลไกรณรงค์เพื่อป้องกันปัญหาเอดส์, 2553-12)
      วัตถุประสงค์การดำเนินการโครงการวิจัยฯนี้มีวัตถุประสงค์ในการ 1. ศึกษากระบวนการ กลไก และกิจกรรมการดำเนินงานพัฒนาศักยภาพองค์กรสมาชิกและแกนนำ ชุมชน 2. ศึกษาโครงสร้าง และการบริหารจัดการโครงการฯ ในกลุ่มเยาวชน 3. ศึกษากระบว ...
    • การควบคุมกำกับและประเมินผลโครงการพัฒนารูปแบบและกลไกรณรงค์เพื่อป้องกันปัญหาเอดส์ในกลุ่มเยาวชน และกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ (กลยุทธ์ที่ 2: เสริมสร้างศักยภาพและการมีส่วนร่วมของเครือข่ายฯ) 

      มหาวิทยาลัยมหิดล. ศูนย์วิจัยเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขและการประเมินผล คณะสาธารณสุขศาสตร์; มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล; จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์; มหาวิทยาลัยขอนแก่น. คณะสาธารณสุขศาสตร์; มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะนิเทศศาสตร์; กระทรวงสาธารณสุข. สำนักโรคเอดส์วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค; กระทรวงสาธารณสุข. สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค; องค์การอนามัยโลก; สถาบันวิจัยและพัฒนานโยบาย (สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขโครงการพัฒนารูปแบบและกลไกรณรงค์เพื่อป้องกันปัญหาเอดส์, 2553-12)
      วัตถุประสงค์การดำเนินการโครงการวิจัยฯ นี้มีวัตถุประสงค์ในการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพเครือข่ายป้องกันเอดส์ในลักษณะการควบคุม กำกับ และประเมินผลโครงการพัฒนารูปแบบและกลไกรณรงค์เพื่อป้องกันปัญหาเอดส์ในประชากรกลุ่มเป้าหมาย 7 ...
    • การควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย 

      วิษณุ ธรรมลิขิตกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01-25)
      โครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพ วิจัยประเด็นวิชาการ เศรษฐกิจ และสังคม เกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพ ...
    • การคัดเลือกชุดทดสอบสารหนูภาคสนามสำหรับใช้งานในเขตอำเภอร่อนพิบูลย์ 

      อุไรวรรณ หมัดอ่าดัม; Uraiwan Madardam; วิไลวรรณ พุทธพฤกษ์; ประสิทธิ์ คงทอง; Wilaiwan putttapruk; Prasit Kongthong; โรงพยาบาลร่อนพิบูลย์; Ronpibun Hospital (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      ปัญหาที่สําคัญของงานสาธารณสุขในปัจจุบันของอำเภอร่อนพิบูลย์ คือ การขาดข้อมูลที่ชี้ให้เห็นถึงการปนเปื้อนของสารหนูหลังจากที่ได้พบการปนเปื้อนสารหนูในน้ำบ่อตื้นในอ.ร่อนพิบูลย์ ตั้งแต่ปีพ.ศ.2529 เป็นต้นมา ได้มีความพยายามในหลายๆ ...
    • การคาดการณ์ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพในสองทศวรรษหน้า 

      สถาบันพระบรมราชชนก; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; สำนักนโยบายและแผนสาธารณสุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2540)
      การคาดการณ์ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพในสองทศวรรษหน้านำเสนอผลการศึกษาการคาดการณ์แนวโน้มระบบสาธารณสุข วิสัยทัศน์ และกลยุทธการพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ ตลอดจนการคาดการณ์ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพ ซึ่งเป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ ...
    • การคาดการณ์ความต้องการและการวางแผนกำลังคนสำหรับระบบบริการทางการแพทย์ฉุกเฉิน 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; พุดตาน พันธุเณร; เสกสรรค์ มานวิโรจน์; อติพันธ์ สุวัฒน์เมฆินทร์; อุ่นใจ เครือสถิตย์; ประวีณ นราเมธกุล; วัลภา ภาวะดี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557)
      การเปลี่ยนแปลงบริบทของประเทศและนโยบายต่าง ๆ ส่งผลกระทบต่อกำลังคนของระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงด้านประชากรและระบาดวิทยา ส่งผลให้การเจ็บป่วยด้านอุบัติเหตุและฉุกเฉินเพิ่มมากขึ้น นอกจากนั้นยังมีนโยบายและแผนที่เกี่ยวข้อง ...
    • การคาดประมาณภาระโรคของประเทศไทยระหว่าง พ.ศ. 2552 - 2572 

      โครงการภาระโรคและปัจจัยเสี่ยงของประเทศไทย; สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (แผนงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2553-08)
      รายงานการคาดประมาณภาระโรคของประเทศไทยระหว่าง พ.ศ. 2552-2572 แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 การสร้างแบบจำลอง และคาดการณ์การตายในประเทศไทย โดยใช้วิธี Multivariate multiple regression สำหรับการตายทุกสาเหตุ และการตายรายกลุ่มสาเหตุ ...
    • การคืนทุนของบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ ภายใต้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของโรงพยาบาลอุดรธานี : รายงานการวิจัย 

      จันทนา พัฒนเภสัช; อาทร ริ้วไพบูลย์; วัชรา ริ้วไพบูลย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550-12)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการคืนทุนของบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ภายใต้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยทำการศึกษาเชิงพรรณนาแบบย้อนหลัง อิงสถิติความชุกของโรค คำนวณต้นทุนบริการทางการแพทย์โดยใช้วิธีมาตรฐาน ...
    • การคุ้มครองผู้บริโภคในระบบประกันสุขภาพของไทย 

      ยุพดี ศิริสินสุข; Yupadee Sirisinsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      การพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภคไม่เพียงแต่จะทำให้ประชาชนสามารถใช้บริการสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพเท่านั้น กลับจะเป็นการกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาคุณภาพบริการในทางอ้อมได้อีกด้วย ในการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประมวลสถานการ ...
    • การคุ้มครองผู้บริโภคในระบบประกันสุขภาพที่เหมาะสม 

      ยุพา วงศ์ไชย; สุพร กระจ่างพืช; ศศิชา ว.บาลิการ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-09)
      การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพเป็นมาตรการหนึ่งในการสร้างความมั่นคงทางสังคมหลักใหญ่เป็นการคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภคฯ ประเทศไทยมีกฎหมายกําหนดสิทธิผู้บริโภคด้านสุขภาพหลายฉบับ รวมทั้งกําหนดกลไกให้ทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ เอกชน ...
    • การคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถในส่วนของการประกันสุขภาพ 

      ศรชัย เตรียมวรกุล; Sornchai Thiemworakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      ในปี พ.ศ. 2535 รัฐบาลได้ผลักดันพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 บังคับใช้เพื่อให้เจ้าของรถทุกคันต้องร่วมรับผิดชอบต่ออุบัติเหตุจากรถที่อาจจะเกิดขึ้น โดยกำหนดให้รถทุกคันต้องตัดให้มีการประกันภัยต่อความเสียหายในร่างกาย ...
    • การค้นหาสารต้านวัณโรคตัวใหม่ที่มีความจำเพาะสูงในการออกฤทธิ์ยับยั้งการติดเชื้อวัณโรคที่มีการดื้อยา 

      พรพรรณ พึ่งโพธิ์; Pornpan Pungpo; สุภา หารหนองบัว; Supa Hannongbua; อรดี พันธ์กว้าง; Auradee Punkvang; พฤทธิ์ คำศรี; Pharit Kamsri; ประสาท กิตตะคุปต์; Prasat Kittakoop; พจนีย์ ศรีมาโนชญ์; Potjanee Srimanote; ชมภูนุช ส่งสิริฤทธิกุล; Chomphunuch Songsiriritthigul; คมสันต์ สุทธิสินทอง; Khomson Suttisintong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-06)
      วัณโรคเป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย ในงานวิจัยนี้มุ่งเน้นการออกแบบและค้นหาสารต้านวัณโรคตัวใหม่ที่มีประสิทธิภาพสูงในการยับยั้งวัณโรคดื้อยากลุ่มฟลูออโรควิโนโลน โดยใช้ระเบียบวิธีการจำลองแบบแล ...