Now showing items 1433-1452 of 2315

    • ความเป็นธรรมของการใช้บริการสาธารณสุขในประเทศไทย 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; เรนเบอร์ก, คลาส; Rehnberg, Class (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ เพื่อตรวจสอบว่า บริการสาธารณสุขของประเทศไทยกระจายตามความจำเป็นมากกว่าที่จะกระจายตามความสามารถในการจ่ายเงิน วัตถุประสงค์ของการ ศึกษาครั้งนี้มี 2 ประการ ได้แก่ 1. เพื่อวัดความเท่าเทียมกันขอ ...
    • ความเป็นธรรมทางสุขภาพ : การประเมินระดับครัวเรือน 

      Suphasit Panarunothai; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์; สุกัลยา คงสวัสดิ์; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; วิรัชดา สุทธยาคม; พิชญ์ รอดแสวง; Dirak Phatamasiriwat; Sukanya Khongsawat; Sumrit Sritamrongsawat; Wiratda Sutayakhom; Phi Rodsawaeng (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นนโยบายสำคัญอย่างหนึ่งที่องค์การอนามัยโลกเสนอแนะแก่รัฐบาลทั้งประเทศพัฒนาและกำลังพัฒนา ประเทศไทยดำเนินนโยบายนี้ทั่วประเทศอย่างรวดเร็วฉับไวเพียงหนึ่งปีหลังจากรัฐบาลใหม่ได้ชัยชนะเสียงข้างมากจากการ ...
    • ความเป็นธรรมทางสุขภาพระดับครัวเรือน : การสำรวจครัวเรือนรอบที่ 2 และการตรวจร่างกายครั้งที่ 1 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์; สุกัลยา คงสวัสดิ์; Direk Patamasiriwat; Sukalaya Kongsawatt (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าต้องการสร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสุขภาพ โดยปัจจัยทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมไม่เป็นอุปสรรคกีดขวาง การศึกษาครั้งนี้เพื่อประเมินผลของนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในปี 2546 โดยการสำรว ...
    • ความเป็นธรรมทางสุขภาพในฐานะสิทธิมนุษยชนของชาวเขาไร้สัญชาติในประเทศไทย 

      บุญมา สุนทราวิรัตน์; Boonma Sunthrawirat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การวิจัยนี้เป็นการวิจัยและพัฒนาด้วยวิธีผสมผสานทั้งปริมาณและคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินเปรียบเทียบระดับความเป็นธรรมทางสุขภาพของกลุ่มชน 3 กลุ่มโดยใช้กลุ่มตัวอย่างเชิงปริมาณจํานวน 789 คน ใน 10 จังหวัดภาคเหนือ ...
    • ความเป็นไปได้ของแหล่งเงินต่างๆ ตามมาตรา 39 ในพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 ในทัศนะของผู้สันทัดกรณี 

      วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; จิตปราณี วาศวิท; กัญจนา ติษยาธิคม; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Chitpranee Vasavid; Kanjana Tisayaticom; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      แหล่งการเงินของโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในขณะนี้มาจากการจัดทำคำขอจากเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีของรัฐบาลโดยเลือกใช้การจัดทำงบประมาณปลายปิดด้วยอัตราเหมาจ่ายรายหัวคูณกับจำนวนประชากรที่ขึ้นทะเบียน จากประสบการณ์ที่ผ่านมา ...
    • ความเสมอภาคในมุมมองของผู้ชี้นำทางสังคม : กรณีพระนักวิชาการทางพุทธศาสนาในสังคมไทย 

      อำนวย พิรุณสาร; Aamnuay Pirunsan (สถาบันวิจัยระบบสาธาณสุข, 2549)
      จากรายงานผลการวิจัยเรื่อง “ความเสมอภาค ในมุมมองของผู้ชี้นําทางสังคม : กรณีศึกษานักบวช (พระ) นักวิชาการทางพุทธศาสนาในสังคมไทย” พบว่า หลักคําสอน หลักปฏิบัติของพุทธศาสนา แม้จะเป็นหลักคําสอน และหลักปฏิบัติเพื่อมุ่งเน้นจุดมุ่ ...
    • ความเสี่ยงของการถ่ายทอดเชื้อทางโลหิตบริจาคในชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย 

      พิมล เชี่ยวศิลป์; Pimol Chiewsilp; ศศิธร เพชรจันทร; Sasitorn Bejrachandra; อิศรางค์ นุชประยูร; Issarang Nuchprayoon; พิมพรรณ กิจพ่อค้า; Pimpun Kitpoka; ปาริชาติ เพิ่มพิกุล; Parichart Permpikul; ชีวนันท์ เลิศพิริยสุวัฒน์; Cheewanan Lertpiriyasuwat; วารุณี จินารัตน์; Varunee Jinaratana; พรรณดี วัฒนบุญยงเจริญ; Phandee Watanaboonyongcharoen; ดวงตะวัน ธรรมาณิชานนท์; Duangtawan Thammanichamond; ดารินทร์ ซอโสตถิกุล; Darintr Sosothikul; โอภาส พุทธเจริญ; Opass Putcharoen; เจตตวรรณ ศิริอักษร; Jettawan Siriaksorn; ธนะภูมิ รัตนานุพงศ์; Thanapoom Rattananupong; ภาวิณี คุปตวินทุ; Pawinee Kupatawintu; สิณีนาฏ อุทา; Sineenart Oota; สาธิต เทศสมบูรณ์; Sathid Thedsomboon; เกรียงศักดิ์ ไชยวงค์; Kriangsak Chaiwong; ดวงนภา อินทรสงเคราะห์; Duangnapa Intharasongkroh; พีระยา สุริยะ; Peeraya Suriya; อภิสิทธิ์ ทองไทยสิน; Apisit Tongthaisin; อภิวรรษ ติยะพรรณ; Apiwat Tiyapan; คามิน วงษ์กิจพัฒนา; Kamin Wongkijpatana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-02-14)
      ที่มาและวัตถุประสงค์ จากการลดลงของความชุกโรคเอดส์ ร่วมกับมีการตรวจวิเคราะห์ด้วยวิธี Nucleic Acid Test ที่ช่วยลด Window Period ของการตรวจเชื้อเอชไอวี (Human Immunodeficiency Virus, HIV) บางประเทศจึงเริ่มให้ผู้มีพฤติกรรมเพ ...
    • ความเสี่ยงและความปลอดภัย: การโดยสารรถตู้สาธารณะในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 

      อมราพร สุรการ; Amaraporn Surakarn; ณภัทรรัตน์ ไชยอัครกัลป์; Napattararat Chaiakkarakan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-05)
      การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ทำความเข้าใจธรรมชาติของสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยในการโดยสารรถตู้สาธารณะในชีวิตประจำวัน ผ่านมุมมองของผู้โดยสารและคนขับรถตู้โดยสารสาธารณะ 2) ค้นหาแนวทางในการป้องกันอันตรายข ...
    • ความเหมาะสมและความเป็นไปได้ในการให้แพทย์เกษียณอายุราชการมาปฏิบัติงานรักษาผู้ป่วยในโรงพยาบาลของรัฐ 

      ซำแก้ว หวานวารี; Samkaew Wanvaree; วิชัย เอกพลากร; บุศรา เกิดพึ่งประชา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2539)
      ความเหมาะสม และความเป็นไปได้ในการให้แพทย์ เกษียณอายุราชการมาปฏิบัติงานรักษาผู้ป่วยในโรงพยาบาลของรัฐจากการศึกษา ความเป็นไปได้ ในโครงการจ้างแพทย์เกษียณอายุ มาทำงานให้รัฐโดยเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์ความคิดเห็นแพทย์ทางโทรศัพท์ ...
    • ความแตกฉานทางสุขภาพของคนไทย 

      นภาพร วาณิชย์กุล; สุชาดา ภัทรมงคลฤทธิ์; จเร วิชาไทย; บุศราภรณ์ เพชรรุ่ง; สายชล คล้อยเอี่ยม; รอย แบทเทอร์แฮม; ริชาร์ด ออสบอร์น (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557)
      เพื่ออธิบายแนวคิดความแตกฉานทางสุขภาพของคนไทยสำหรับคนไทย 5 กลุ่ม ประกอบด้วยคนไทยที่ดูมีสุขภาพดี คนพิการทางการมองเห็น การเคลื่อนไหว การได้ยิน และผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เกี่ยวข้องกับภาวะหลอดเลือดแดงตีบแข็ง (โรคหลอดเลือดหัวใจ ...
    • คำถามการวิจัยและปัญหาที่ควรได้รับการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับคุณภาพของบริการสุขภาพในประเทศไทย : ระยะที่ 1 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban; สรรธวัช อัศวเรืองชัย; กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; จเด็จ ธรรมธัชอารี; ภรณี เหล่าอิทธิ; Santawat Asawarueangchai; Kin Phongphirun; Jadej Thammatacharee; Pharanee Laoitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      โครงการวิจัยนี้ประกอบด้วยการศึกษา 2 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นการทบทวนประสบการณ์การทำวิจัยด้านคุณภาพของบริการสุขภาพ และการทำข้อเสนอกรอบคำถามของการวิจัยเบื้องต้น และระยะที่ 2 ซึ่งจะการสำรวจสถานการณ์และข้อคำถามของผู้ ...
    • คำถามการวิจัยและปัญหาที่ควรได้รับการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับคุณภาพของบริการสุขภาพในประเทศไทย : ระยะที่ 2 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban; สรรธวัช อัศวเรืองชัย; กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; จเด็จ ธรรมธัชอารี; ภรณี เหล่าอิทธิ; Santawat Asawarueangchai; Krit Pongpirul; Jadej Thammatacharee; Poranee Laoitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      โครงการวิจัยคำถามการวิจัยและปัญหาที่ควรได้รับการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับคุณภาพของบริการสุขภาพในประเทศไทย นี้ประกอบด้วยการศึกษา 2 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นการทบทวนประสบการณ์การทำวิจัยด้านคุณภาพของบริการสุขภาพ และการทำข้อเ ...
    • คำสารภาพ บาปบริสุทธิ์ 

      อรสม สุทธิสาคร; Orasom Suthisakorn (สารคดี, 2547)
      ผู้หญิงที่เป็นแม่มักจะกลายเป็นศูนย์กลางแห่งการเพ่งโทษของสาธารณชน ครอบครัว ชุมชน หรือแม่แต่สื่อมวลชน ซึ่งมักจะมองเห็นปรากฏการณ์การทอดทิ้งลูกเพียงภาพผิวเผินในระดับความผิดพลาดของผู้หญิงแต่ละคน โดยละเลยที่จะวิเคราะห์ให้ลึกลง ...
    • คุณภาพของข้อมูลอุบัติเหตุทางถนนและสถานการณ์อุบัติเหตุทางถนนในประเทศไทย 

      ยอดพล ธนาบริบูรณ์; Yodphon Tanaboribun (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2548)
      รายงานฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความสมบูรณ์คุณภาพของข้อมูลและเพื่อรวบรวม วิเคราะห์สถานการณ์อุบัติเหตุจราจร และความสัมพันธ์กับแนวโน้มการกระจายของปัจจัยเสี่ยงจากแหล่งข้อมูลที่มี เพื่อการวางยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาแ ...
    • คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีและไม่มีภาวะแทรกซ้อนและแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 

      ปัฐยาวัชร ปรากฎผล; Padthayawad Pragodpol; เยาวดี สุวรรณนาคะ; อรุณี ไชยฤทธิ์; บุญสืบ โสโสม; สราวุฒิ สีถาน; มยุรี สร้อยศรีสวัสดิ์; สำราญ จันทร์พงษ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเป็นโรคเรื้อรังที่มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นทุกปี ซึ่งโรคนี้ก่อให้เกิดอาการที่ไม่พึงประสงค์และภาวะแทรกซ้อนที่อวัยวะสำคัญที่ผู้ป่วยต้องจัดการ ซึ่งทำให้มีผลกระทบต่อระดับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย วัตถุประ ...
    • คุณภาพยาที่ผลิตหรือจำหน่ายโดยองค์การเภสัชกรรมและ โรงงานผลิต เอกชนที่ได้มาตรฐานการผลิต กรณีศึกษายา 6 รายการ 

      จงดี ว่องพินัยรัตน์; Jongdee Wangpinairat; อรุณี ภูมิพานิชย์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; จงกล เลิศเธียรดำรง; ชลลดา สิทธิฑูรย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      รายงานการศึกษาคุณภาพยาที่ผลิตหรือจำหน่ายโดยองค์การเภสัชกรรมและโรงงานผลิต เอกชนที่ได้มาตรฐานการผลิต กรณีศึกษายา 6 รายการการวิจัยนี้เป็นการศึกษาด้านคุณภาพยาเพื่อเปรียบเทียบคุณภาพยาที่ผลิตหรือจำหน่ายโดยองค์การเภสัชกรรม ...
    • คุณลักษณะที่พึงประสงค์และการรวมกลุ่มนักสื่อสารสุขภาพ 

      นรินทร์ สังข์รักษา; Narin Sungrugsa (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      รายงานวิจัย คุณลักษณะที่พึงประสงค์และการรวมกลุ่มนักสื่อสารสุขภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักสื่อสารสุขภาพ บทบาทที่คาดหวังของนักสื่อสารสุขภาพ เปรียบเทียบนักสื่อสารสุขภาพที่มีปัจจัยส่วนบุคคลต่างกัน ...
    • คู่มือการจัดทำ GIS, Web GIS สำหรับ Admin ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ 

      จันทิมา นวะมะวัฒน์; Juntima Nawamawat; วิภาพร สิทธิสาตร์; Vipaporn Sittisart; กฤษฎา เหล็กเพชร; Kritsada Lekphet; ไพศาล เธียรถาวร; Pisan Teantawarn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System : GIS) เป็นเครื่องมือที่นำระบบกราฟิกแผนที่ (Geographic) มาทำงานร่วมกับระบบฐานข้อมูล (Database) ให้กลายเป็นข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Data) ที่สามารถใช้ในการจัดเก็บ ...
    • คู่มือการจัดทำโครงการอนุรักษ์การได้ยินในโรงงานอุตสาหกรรมสำหรับประเทศไทย 

      สราวุธ สุธรรมาสา; Sarawut Suthammasa (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      ปัญหามลพิษทางเสียงจากอุตสาหกรรมเป็นปัญหาสําคัญปัญหาหนึ่งของประเทศไทย แต่การดําเนินการต่างๆ ตั้งแต่การประเมินการสัมผัสเสียงดัง การตรวจการได้ยินและการจัดการมลพิษทางเสียงของหน่วยงานต่างๆ และโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ ยังไม่ปรากฏ ...