• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
Research Reports เลือกตามชื่อเรื่อง 
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • Research Reports เลือกตามชื่อเรื่อง
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • Research Reports เลือกตามชื่อเรื่อง
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Research Reports เลือกตามชื่อเรื่อง

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1530-1549 จาก 2486

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • คนลุ่มน้ำท่าจีน เรื่องของคนที่ต้องการจัดการน้ำเอง 

      เด่นศิริ ทองนพคุณ; Densiri Thongnoppakun; อธิวัฒน์ พันธ์ประชา; ประเชิญ คนเทศ; สุรศักดิ์ คลังสุภาวิพัฒน์; Atiwat Phaphacha; Phachoen Khonthet; Surasak Khangsupawiphat; ชมรมเรารักแม่น้ำท่าจีนนครปฐม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      รายงาน คนลุ่มน้ำท่าจีน เรื่องของคนที่ต้องการจัดการน้ำเอง ฉบับนี้ จัดทำขึ้นโดย ชมรมเรารักแม่น้ำท่าจีนนครปฐม เป็นองค์กรเล็กที่เกิดจากการรวมตัวของภาคประชาชนอันประกอบด้วย บ้าน วัด และโรงเรียน ซึ่งทุกคนมีสํานึกร่วมกันในด้านคว ...
    • คลินิกพัฒนาการเด็กต้นแบบ และการศึกษาผลการส่งเสริมเด็กพัฒนาการล่าช้า เด็กออทิสติกด้วยโปรแกรมไทย 

      แก้วตา นพมณีจำรัสเลิศ; Kaewta Nopmaneejumruslers; เพลิน ประทุมมาศ; Plern Pratoommas; กันนิกา เพิ่มพูนพัฒนา; Kannika Permpoonputtana; ประพา หมายสุข; Prapa Maisook; ฒามรา สุมาลย์โรจน์; Tamara Sumalrot; กุณฑลีพร อมรชัยยาพิทักษ์; Koonthaleeporn Amornchaiyapitak; ธนยศ สุมาลย์โรจน์; Thanayot Sumalrot; ตติมา กล่อมจันทร์; Tatima Klomchan; กันย์ญาดา เอี่ยมสุนทร; Kanyada Iamsoontorn; จิตตินันท์ ชิ้นปิ่นเกลียว; Jittinan Chinpinkyo (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      ออทิสติกมีสาเหตุจากพันธุกรรมที่ส่งผลให้เกิดความบกพร่องของสมองและระบบประสาท การแก้ไขความบกพร่องต้องอาศัยหลักการทางสมองและระบบประสาท Neuroplasticity หรือ ความสามารถในการปรับเปลี่ยนของสมอง มีองค์ประกอบที่เป็นหลักสำคัญ คือ ...
    • ความครอบคลุมและการยอมรับของประชาชนในการพ่นสารเคมีและการใช้มุ้งชุบน้ำยาควบคุมไข้มาลาเรีย จังหวัดกระบี่ 

      อนงค์ ภูมชาติ; Anong Poomchart; สมจิตร ศรีศุภร; ไพบูลย์ กีต้า; ไพโรจน์ ชูรักษ์; ก่อเดช ยะลา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      ความครอบคลุมและการยอมรับของประชาชนในการพ่นสารเคมี และการใช้มุ้งชุบน้ำยาควบคุมไข้มาลาเรีย จังหวัดกระบี่ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวัดความครอบคลุมและการยอมรับของประชาชนต่อกิจกรรมควบคุมไข้มาลาเรียเรื่องการพ่นเคมีและการ ...
    • ความคาดหวัง การใช้บริการด้านสุขภาพ และผลกระทบของการจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : มุมมองของประชาชน : รายงานวิจัยเล่มที่3 

      อัญชนา ณ ระนอง; Anchana Na Ranong; วิโรจน์ ณ ระนอง; Viroj Na Ranong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบในระยะแรกของการจัดให้มีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (และโครงการ “30 บาทรักษาทุกโรค”) ที่มีต่อประชาชน จากมุมมองของประชาชนเอง โดยคำนึงถึงพฤติกรรมการเลือกวิธีรักษาพยาบาลและการเลือก ...
    • ความคิดเห็นของผู้ปกครองต่อการหยอดวัคซีนโปลิโอในเด็กนักเรียน : การศึกษาในกรุงเทพมหานคร ตามโครงการรณรงค์ให้วัคซีนเพื่อกวาดล้างโปลิโอ 

      วรนุช วุฒิอุตดม; Woranuch Wuthiutadom; ลือชัย ศรีเงินยวง (ศูนย์ศึกษานโยบายสาธารณสุข คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2541)
      ความคิดเห็นของผู้ปกครองต่อการหยอดวัคซีนโปลิโอในเด็กนักเรียน: การศึกษาในกรุงเทพมหานคร ตามโครงการรณรงค์ให้วัคซีนเพื่อกวาดล้างโปลิโอการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์สำคัญ 4 ประการ คือเพื่อวิเคราะห์สภาพการณ์และปัจจัยกำหนดการปฏิเสธ/ย ...
    • ความคิดเห็นของแพทย์โรงพยาบาลศูนย์และอาจารย์ โรงเรียนแพทย์ต่อรูปแบบการผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบท 

      ซำแก้ว หวานวารี; Sumkaew Wanvaree; วิชัย เอกพลากร; ณัฐภัคว์ สกุโณดม; บุญใจ ลิ่มศิลา; รสสุคนธ์ กังวาลเลิศ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      ความคิดเห็นของแพทย์โรงพยาบาลศูนย์ และอาจารย์โรงเรียนแพทย์ต่อรูปแบบการผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบทรายงานการศึกษานี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการการบรรเทาการขาดแคลนแพทย์ในชนบท ซึ่งเริ่มในปีพ.ศ.2538 โดยมีการสำรวจความคิดเห็นและเก็บร ...
    • ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ ผลกระทบด้านงบประมาณ และความเป็นไปได้ของมาตรการการคัดกรองเบาหวานในประชากรไทย 

      สุคนธา คงศีล; Sukhontha Kongsin; วีรชัย ศรีวณิชชากร; Weerachai Srivanichakorn; เพชร รอดอารีย์; Petch Rawdaree; ณัฐนารี เอมยงค์; Natnaree Aimyong; พิจิตรพงศ์ สุนทรพิพิธ; Pichitpong Soontornpipit; ณฐมน พรมอ่อน; Nathamon Prom-On; รมนปวีร์ บุญใหญ่; Ramonpawee Boonyai; สุขุม เจียมตน; Sukhum Jiamton (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-05)
      บทนำ: การใช้ระบบประเมินความเสี่ยงและการคัดกรอง ในผู้ที่มีความเสี่ยงที่จะเกิดโรคเบาหวาน หรือผู้ที่มีภาวะก่อนเบาหวาน มีเครื่องมือหลายอย่าง และแต่ละอย่างมีข้อดี/ข้อจำกัดในการวินิจฉัยโรคเบาหวานและการทำนายการเป็นเบาหวานในอนาคต ...
      ป้ายกำกับ:
      รายการแนะนำ
    • ความจำเป็นและแนวทางในการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ : กรณีโครงการเหมืองแร่โพแทช จังหวัดอุดรธานี 

      ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์; Pattapong Kessomboon; เดชรัต สุขกำเนิด; นุศราพร เกษสมบูรณ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      โครงการเหมืองแร่โพแทช จังหวัดอุดรธานี ได้รับการกล่าวขานกันมากในระยะนี้ เนื่องจากประชาชนและประชาสังคมมีความตื่นตัวและตระหนักว่าเรื่องนี้ อาจจะมีผลกระทบต่อสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมและสุขภาพของชาวอุดรธานีได้อย่างมากมายมหาศาล ...
    • ความจำเป็นในการเข้ารับบริการรักษาพยาบาลจากมุมมองของผู้ป่วยและแพทย์ 

      อุดมศักดิ์ แซ่โง้ว; อภิชัย วรรธนะพิศิษฐ์; รัตติยา อักษรทอง; Udomsak Saengow; Apichai Wattanapisit; Ruttiya Asksonthong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-07)
      หนึ่งในข้อโต้แย้งสำคัญที่มักถูกยกขึ้นมาจากฝ่ายผู้ให้บริการเพื่อคัดค้านการให้การรักษาฟรีภายใต้นโยบาย หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่ว่า การที่รัฐบาลจัดการรักษาฟรีให้แก่ประชาชนนำไปสู่การเข้ารับบริการที่ไม่จำเป็นหรือเกินความจำเป็น ...
    • ความชอบและความเต็มใจจ่ายค่ายาของผู้ใช้สิทธิรักษาพยาบาลของข้าราชการ : กรณีศึกษายากลุ่ม HMG-CoA reductase inhibitors (Statins) 

      ภัสสรานิจ พรรณรังษี; ธนเทพ วิชญากร; สุรฉัตร ง้อสุรเชษฐ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชอบและความเต็มใจจ่ายค่ายาของผู้ใช้สิทธิรักษาพยาบาลของข้าราชการโดยใช้ยากลุ่ม statin เป็นกรณีศึกษา การศึกษานี้แบ่งเป็น 2 ตอนหลักๆ โดยที่ในตอนแรกได้มีการหาคุณลักษณะที่สำคัญของยากลุ่ม ...
    • ความชุกและอุบัติการณ์ของการติดเชื้อด้วยการตรวจทางซีโรโลยีและการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อ SARS-CoV-2 ในบุคลากรทางการแพทย์ด่านหน้าที่ดูแลผู้ป่วย เปรียบเทียบกับบุคลากรทางการแพทย์ที่ไม่ได้ดูแลผู้ป่วย COVID-19 ในสถานการณ์การระบาดของโรค COVID-19 ภายในโรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร 

      ณสิกาญจน์ อังคเศกวินัย; Nasikarn Angkasekwinai; กุลกัญญา โชคไพบูลย์กิจ; Kulkanya Chokephaibulkit; อรศรี วิทวัสมงคล; Orasri Wittawatmongkol; จตุรงค์ เสวตานนท์; Jaturong Sewatanon; โกวิท พัฒนาปัญญาสัตย์; Kovit Pattanapanyasat; รุจิภาส สิริจตุภัทร; Rujipas Sirijatuphat; วินัย รัตนสุวรรณ; Winai Ratanasuwan; สุวิมล นิยมในธรรม; Suvimol Niyomnaitham (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)
      หลักการและเหตุผล บุคลากรทางการแพทย์ที่ทำงานด่านหน้า เป็นกลุ่มเสี่ยงสูงที่มีโอกาสติดเชื้อโควิด ทำให้มีโอกาสต้องตรวจสวอปบ่อยครั้ง การตรวจด้วยวิธีทางซีโรโลยี ทำได้ง่ายและสามารถใช้ในการเฝ้าระวังได้ การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสง ...
    • ความตระหนักรู้เกี่ยวกับการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในบุคลากรทางการแพทย์ 

      กมลนัทธ์ ม่วงยิ้ม; วิบูลย์ วัฒนนามกุล; อารีรัตน์ บากาสะแต; จำปี วงศ์นาค; ยลฤดี ตัณฑสิทธิ์; สุกัณฑา หมวดทอง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      งานวิจัยนี้ศึกษาถึงความตระหนักรู้เกี่ยวกับการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของบุคลากรทางการแพทย์ รวมไปถึง สืบค้นหาปัจจัยที่ส่งผลต่อการตระหนักรู้เกี่ยวกับการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของบุคลากรทางการแพทย์ อันจะเป็นปัจจัยนำเข้าที่สำคัญในการหา ...
    • ความต้องการของผู้รับบริการและผู้ให้บริการเกี่ยวกับชุดบริการดูแลสุขภาพที่บ้านสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน 

      พรพรรณ ทรัพย์ไพบูลย์กิจ; Pornpan Sabpaiboonkit; สุชาดา เหลืองอาภาพงศ์; ชมนาด พจนามาตร์; ชลอศรี แดงเปี่ยม; Suchada Hueangahpapong; Chomnard Potjanamart; Chalorsri Dangpiam (คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2546)
      การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการของผู้รับบริการและผู้ใช้บริการเกี่ยวกับชุดบริการดูแลสุขภาพที่บ้านสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน ประชากรในการวิจัยมี 2 กลุ่ม กลุ่มผู้รับบริการ คือผู้ป่วยเบาหวานทุกคนที่มีภูมิลำเนาใ ...
    • ความต้องการด้านสารสนเทศของประชาชนในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคภายใต้ระบบระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      เอนกพล เกื้อมา; Anagpon Kuama; ศิริเชษฐ์ สังขะมาน; สุรางค์รัตน์ จำเนียรพล; อุ่นเรือน ทองอยู่สุข; Sirichet Sangkaman; Surangrut Jumnianpol; Unruan Thogyoosook (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความต้องการด้านสารสนเทศของประชาชนในการสร้างเสริมและการป้องกันโรค 2) ศึกษาช่องทางการเข้าถึงสารสนเทศของประชาชนต่อการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค และ 3) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อควา ...
    • ความต้องการสารสนเทศอุตสาหกรรมยาในประเทศไทย ระยะเวลา : กรกฎาคม 2549 - สิงหาคม 2549 

      เสาวคนธ์ รัตนวิจิตราศิลป์; ศนิตา หิรัญรัศมี; ภูรี อนันตโชติ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      ด้วยนโยบายแห่งชาติด้านยาของทั้ง 2 ฉบับ คือ ฉบับปี พ.ศ. 2525 และฉบับปรับปรุง ปี พ.ศ. 2536 ได้กำหนดให้มีการการพัฒนาอุตสาหกรรมยาในประเทศไทย จากการศึกษาและทบทวนวรรณกรรมหลายชิ้นที่เกี่ยวข้องกับอุุตสาหกรรมยาในประเทศไทย ...
    • ความต้องการและทบทวนดัชนีชี้วัดโรคมะเร็งระดับนานาชาติและระดับชาติและพัฒนาดัชนีชี้วัดโรคมะเร็ง 

      หัชชา ศรีปลั่ง; Hatcha Sriphlang (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2550)
      รายงานความต้องการและทบทวนดัชนีชี้วัดโรคมะเร็งระดับนานาชาติและพัฒนาดัชนีชี้วัดโรคมะเร็ง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนาระบบข้อมูลโรคมะเร็ง ภายใต้แผนงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ เพื่อทบทวนบทบาทและความต้องการใช้ข้อมูลขอ ...
    • ความท้าทายและข้อเสนอเชิงนโยบายในการบริหารกำลังคนด้านสุขภาพ เพื่อรับมือการระบาดใหญ่ในหน่วยบริการปฐมภูมิในบริบทการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปองค์การบริหารส่วนจังหวัด 

      กุลวดี อภิชาติบุตร; Kulwadee Abhicharttibutra; อรอนงค์ วิชัยคำ; Orn-Anong Wichaikhum; อภิรดี นันท์ศุภวัฒน์; Apiradee Nantsupawat; เกศราภรณ์ อุดกันทา; Kedsaraporn Udkunta (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-01)
      การระบาดเพิ่มขึ้นอย่างฉับพลันก่อให้เกิดความตึงเครียดต่อการบริการทางสุขภาพ กำลังคนด้านสุขภาพจึงเป็นบุคลากรสุขภาพด่านหน้าที่มีส่วนสำคัญอย่างยิ่งในการตอบสนองต่อสถานการณ์การระบาด การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์สถ ...
    • ความปลอดภัยและผลการกระตุ้นภูมิต้านทาน ในประชากรผู้ใหญ่หลังให้วัคซีนโควิด-19 ชนิดเชื้อตาย (Sinovac) ครบแล้ว 2 เข็ม ด้วยวัคซีนโควิด-19 ชนิดเดียวกันหรือต่างชนิดกัน 

      ยง ภู่วรวรรณ; Yong Poovorawan; ณศมน วรรณลภากร; Nasamon Wanlapakorn; ณัฐินี สุทธินรเศรษฐ์; Natthinee Sudhinaraset; ฤทธิเดช ยอแสง; Ritthideach Yorsaeng; หนึ่งฤทัย สุนทรวงศ์; Nungruthai Suntronwong; สมพงษ์ วงษ์พันสวัสดิ์; Sompong Vongpunsawad; จิรัชญา พื้นผา; Jiratchaya Puenpa; จิระ จันท์แสนโรจน์; Jira Chansaenroj; ภรจริม นิลยนิมิต; Pornjarim Nilyanimit; พรพิตรา ประเทศรัตน์; Pornpitra Pratedrat; ชมพูนุช อู่พิมาย; Chompoonut Auphimai; ทักษพร ทัศนาธร; Thaksaporn Thatsanatorn; ดลชิดา ศรีเหมือน; Donchida Srimuan; สุวิชาดา อัศวโกสีย์; Suvichada Assawakosri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-04)
      การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-2019 (โควิด-19) ได้กลายเป็นปัญหาด้านการดูแลสุขภาพและสาธารณะมีความรุนแรงทั่วโลกนับตั้งแต่เกิดการระบาดครั้งแรกในปลายเดือนธันวาคม 2019 ปัจจุบันมีการใช้วัคซีนโควิด-19 ในหลายประเทศแต่ก็ยั ...
    • ความปลอดภัยและผลการกระตุ้นภูมิต้านทาน ในประชากรผู้ใหญ่หลังให้วัคซีนโควิด-19 ชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอ เข็มที่ 4 จากผู้ที่มีประวัติการได้รับวัคซีนโควิด-19 มาแล้ว 3 เข็ม, การศึกษาเชิงคลินิก 

      ยง ภู่วรวรรณ; Yong Poovorawan; ณศมน วรรณลภากร; Nasamon Wanlapakorn; ภรจริม นิลยนิมิต; Pornjarim Nilyanimit; ฤทธิเดช ยอแสง; Ritthideach Yorsaeng; จิระ จันทร์แสนโรจน์; Jira Chansaenroj; หนึ่งฤทัย สุนทรวงศ์; Nungruthai Suntronwong; ทักษพร ทัศนาธร; Thaksaporn Thatsanatorn; ดลชิดา ศรีเหมือน; Donchida Srimuan; สุวิชาดา อัศวโกสีย์; Suvichada Assawakosri; สิทธิชัย กนกอุดม; Sitthichai Kanokudom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของความปลอดภัยและผลของการกระตุ้นภูมิคุ้มกันของการให้วัคซีนเข็มที่ 4 ชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอ ภายหลังการให้วัคซีน 3 เข็มในรูปแบบต่างๆ หลังจากนั้นทำการเปรียบเทียบผลการศึกษาดังกล่าวระหว่างกลุ่ม BNT162b2 ...
    • ความปลอดภัยและผลการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันหลังการได้รับวัคซีนโควิด 19 ด้วยการฉีดเข้าในผิวหนัง ในอาสาสมัครที่ได้รับวัคซีนเข็มแรก และที่ได้รับวัคซีนกระตุ้น 

      สมฤดี ฉัตรสิริเจริญกุล; Somruedee Chatsiricharoenkul; กุลกัญญา โชคไพบูลย์กิจ; Kulkanya Chokephaibulkit; ศันสนีย์ เสนะวงษ์; Sansnee Senawong; สุวิมล นิยมในธรรม; Suvimol Niyomnaitham (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      เนื่องด้วยพบการระบาดในประเทศไทยในหลายระลอก การนำเข้าวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ในช่วงแรกไม่เพียงพอต่อการกระจายวัคซีนไปยังประชากรทั่วประเทศ การให้วัคซีนด้วยการฉีดเข้าในชั้นผิวหนังจึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง ซึ่งนอกจากจะใช้วัคซี ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)ประเภททรัพยากรนี้ปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [620]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV