• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
Research Reports เลือกตามชื่อเรื่อง 
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • Research Reports เลือกตามชื่อเรื่อง
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • Research Reports เลือกตามชื่อเรื่อง
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Research Reports เลือกตามชื่อเรื่อง

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1664-1683 จาก 2483

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • ติดตามประเมินผลนโยบายทีมหมอครอบครัว 

      ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paiboon Suriyawongpaisarn; สุภา เพ่งพิศ; Supa Pengpid; สมชาย วิริดิรมย์กุล; นภาพร วาณิชย์กุล; Napaporn Wanitkun; สุชาดา ภัทรมงคลฤทธิ์; Suchada Pattaramongkolrit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-11)
      นโยบายทีมหมอครอบครัวอุบัติขึ้นท่ามกลางสายธารใหญ่อันยาวไกลแห่งการพัฒนาระบบย่อยอย่างน้อยสองระบบในระบบบริการสุขภาพไทย หนึ่งคือ ระบบบริการปฐมภูมิ ซึ่งมักนิยมเข้าใจกันว่า ไม่ใช่บริการเฉพาะโรค/เฉพาะทาง โดยมักเกิดขึ้นใกล้บ้าน ...
    • ติดตามประเมินผลโครงการพัฒนานโยบายการสนับสนุนศักยภาพอสม. สู่การบริการระบบสุขภาพชุมชน ปี 2553 

      ลือชัย ศรีเงินยวง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555)
      วัตถุประสงค์ 1. สถานการณ์ปัจจุบันของการดําเนินการ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของอาสามสมัครสาธารณสุขภายใต้โครงการส่งเสริมอาสาสมัครประจําหมู่บ้านเชิงรุกเป็นอย่างไร ในประเด็นของหนึ่งรูปแบบการบริหารจัดการเงินค่าป่วยการ ...
    • ต้นทุน และประสิทธิภาพของหน่วยบริการไตเทียม ภาครัฐและเอกชนในปี 2544 

      กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; สุวรรณา มูเก็ม; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ต้นทุน โครงสร้างต้นทุน ประสิทธิภาพของหน่วยบริการไตเทียมภาครัฐและเอกชนทั่วประเทศ ในปี พ.ศ. 2544 โดยใช้วิธีการสำรวจ โดยเก็บข้อมูลต้นทุนค่าแรง ค่าวัสดุ ค่าเสื่อมราคา ปริมาณการบริการฟอกเลือด ...
    • ต้นทุน-ประสิทธิผลของการให้บริการยาละลายลิ่มเลือด ในโรงพยาบาลชุมชน 

      สุรศักดิ์ เสาแก้ว; Surasak Saokaew; ปิยะ หาญวรวงศ์ชัย; Piya Hanvoravongchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิดเอสทียก (ST segment elevation myocardial infarction: STEMI) เป็นสาเหตุการตายที่สำคัญ การเปิดหลอดเลือดหัวใจให้เร็วที่สุดโดยการขยายหลอดเลือดหัวใจจึงช่วยลดอัตราการเสียชีวิตได้ แต่ในบริบทที่ ...
    • ต้นทุน-อรรถประโยชน์ของการทำผ่าตัดเอ็นไขว้หน้าโดยการส่องกล้องเข่า (Arthroscopic knee surgery) ในโรงพยาบาลทั่วไประดับ M1 ในเขตสุขภาพที่ 7 

      สุธี ทระกุลพันธ์; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; สุพล ลิมวัฒนานนท์; ธนชัย พนาพุฒิ; ธวัชชัย เทียมกลาง; มานะ มีแทน; อิทธิพล สูงแข็ง; จงกลณี จันทรศิริ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ ต้องการประเมินต้นทุนและอรรถประโยชน์ของการทำผ่าตัดส่องกล้องเข่าในผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นเอ็นไขว้หน้าฉีกขาดและ/หรือร่วมกับหมอนรองหัวเข่าแตก (Anterior cruciate ligament injury ...
    • ต้นทุนดำเนินการของสถานีอนามัยในจังหวัดสมุทรสาครปีงบประมาณ 2542 

      ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; Siriwan Pitayarangsarit; ธีรธัช กันตามระ; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      การศึกษาต้นทุนของสถานีอนามัยครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อทราบต้นทุนรวมของสถานีอนามัย และต้นทุนต่อหน่วยบริการประเภทต่างๆ เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับการบริหารจัดการการเงินของทั้งโรงพยาบาลบ้านแพ้ว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ...
    • ต้นทุนต่อหน่วยของระบบบริการสุขภาพภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าภายใต้ชุดโครงการ การศึกษาระบบบริการสุขภาพภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      ทศพร วิมลเก็จ; Thosaporn Wimonkej (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      ศึกษาต้นทุนบริการและวิเคราะห์ต้นทุนบริการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค การรักษาและทันตกรรม ในโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้า ศูนย์บริการสาธารณสุข 16 กรุงเทพมหานคร เพื่อใช้เป็นแนวทางในการวางแผน เตรียมงบประมาณ รวมทั้งจัดเตรียมท ...
    • ต้นทุนต่อหน่วยบริการ และการคืนทุน ของโรงพยาบาลแม่และเด็ก เชียงใหม่ พ.ศ. 2537 

      บวร งามศิริอุดม; Boworn Ngamsiriudom; ทิพาพร เสถียรศักดิ์พงศ์; Maternal and Child Hospital (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2538)
      Unit cost and cost recovery of the maternal and child hospital,Chiang Mai province 1994 This study aims to determine the unit cost of providing services, the revenue of the hospital and the cost recovery of the hospital. ...
    • ต้นทุนต่อหน่วยบริการศูนย์บริการสาธารณสุข 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangchroensathien; สุกัลยา คงสวัสดิ์; สนธยา รุ่งกิจการวัฒนา; ประภาพรรณ คำคม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2538)
      ต้นทุนต่อหน่วยบริการศูนย์บริการสาธารณสุข รายงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ วิเคราะห์และประมาณต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรมศูนย์บริการ สาธารณสุขทุกแห่งในกรุงเทพมหานครจำนวน 60 แห่ง สังกัดสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร โดยใช้ข้อมูลทางก ...
    • ต้นทุนต่อหน่วยบริการโดยวิธีบัญชีต้นทุนของโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป 9 แห่ง ปี พ.ศ.2539-40 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล; งามจิตต์ จันทรสาธิต; วรรณี พิริยะจิตรา; วรัญญา โพธินฤมิตร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      Cost per Service of 9 General and Regional Hospitals Estimated by Cost-accounting Technique (1996-1997)The purpose of this study was to estimate cost per care of 9 of the general and regional hospitals to be beneficial for ...
    • ต้นทุนทางสังคมกับความสุขของผู้พิการ พื้นที่เทศบาลนครพิษณุโลก อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 

      ณัฐชานนท์ อุตสม; วาสนา ศิริพรทุม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-10-01)
      วัตถุประสงค์เพื่อสำรวจและศึกษาวิถีชีวิตและความคาดหวังของผู้พิการ รวมทั้งศึกษาทุนทางสังคมของชุมชน ตลอดจนการพัฒนากระบวนการทางความคิดเชิงนโยบายสาธารณะที่เกี่ยวข้องกับผู้พิการบนพื้นฐานของทุนทางสังคม อันจะนำไปสู่การปฏิบัติอัน ...
    • ต้นทุนบริการสุขภาพสำหรับการรักษาผู้ป่วยอาการเจ็บป่วยเล็กน้อยที่ร้านยาเปรียบเทียบกับการรักษาแบบผู้ป่วยนอกที่โรงพยาบาล 

      ปรุฬห์ รุจนธำรงค์; Parun Rutjanathamrong; ตวงรัตน์ โพธะ; Tuangrat Phodha; ธนะวัฒน์ วงศ์ผัน; Thanawat Wongphan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-08-08)
      อาการเจ็บป่วยเล็กน้อย (Common Illness) เป็นกลุ่มอาการเจ็บป่วยที่พบบ่อยในประชาชน ความรุนแรงและความซับซ้อนของโรคน้อย ประชาชนสามารถดูแลรักษาตนเองในเบื้องต้นได้ การรับบริการที่ร้านยาจึงเป็นทางเลือกที่ประชาชนเลือกใช้บริการ ...
    • ต้นทุนผู้ป่วยรายบุคคลของหน่วยบริการสุขภาพในจังหวัดพิษณุโลก : ด้วยวิธีต้นทุนจุลภาพ 

      อรทัย เขียวเจริญ; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; บุญเติม ตันสุรัตน์; ชัยโรจน์ ซึงสนธิพร (สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2555-07)
      วิธีการจ่ายเงินให้กับหน่วยบริการเป็นเครื่องมือสําคัญในการปฏิรูประบบสาธารณสุขที่หลายๆ ประเทศทั่วโลกนํามาใช้ในรูปแบบที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งการจ่ายเงินไม่ว่าในรูปแบบใดหากออกแบบให้เหมาะสมย่อมนําไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพ คุณภาพ ...
    • ต้นทุนรายโรคผู้ป่วยจิตเวชตามกลุ่มโรคร่วมของผู้ป่วยจิตเวชโรงพยาบาลสวนปรุง 

      บุปผวรรณ พัวพันธ์ประเสริฐ; Buppawan Phuaphanprasert; กิตติพงศ์ สานิชวรรณกุล; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Kitti Sanitwankul; Supasit Pannarunothai (มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2546)
      จากภาวะวิกฤติเศรษฐกิจ ประเทศไทยมีการจัดสรรงบประมาณสาธารณสุขใหม่ โดยใช้วิธีเหมาจ่ายรายหัวในผู้ป่วยนอก และจ่ายตามค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ของกลุ่มโรคร่วมสำหรับผู้ป่วยใน อนึ่งการจัดกลุ่มผู้ป่วยทางจิตเวชเพื่อจัดสรรทรัพยากร ...
    • ต้นทุนและประสิทธิผลของการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเปรียบเทียบศูนย์แพทย์ชุมชนเมือง และโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; มานิต คงแป้น (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
    • ต้นแบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 

      วิโรจน์ เจียมจรัสรังษี; Wiroj Jiamjarasrangsri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การที่ประชากรมีอายุยืนขึ้นทำให้โรคเรื้อรังที่เป็นผลจากการเสื่อมของสภาพร่างกาย เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคปอดอักเสบเรื้อรัง เป็นต้น กลายเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญอย่างมากในปัจจุบัน ทั้งในประเท ...
    • ต้นแบบการใช้แอปพลิเคชันคุณลูกเพื่อส่งเสริมสุขภาพเด็กที่คลินิกสุขภาพเด็กดี 

      รสวันต์ อารีมิตร; Rosawan Areemit; สุชาอร แสงนิพันธ์กูล; Suchaorn Saengnipanthkul; ผกากรอง ลุมพิกานนท์; Pagakrong Lumbiganon; สุมิตร สุตรา; Sumitr Sutra; กุลวดี ศรีพานิชกุลชัย; Kunwadee Sripanidkulchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      เด็กและวัยรุ่นเป็นวัยสำคัญที่สมองและร่างกายมีการเจริญเติบโตและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จากสถานการณ์ด้านพัฒนาการของเด็กไทยช่วงวัย 0-5 ปี พบว่า มีเด็กที่สงสัยว่าพัฒนาการล่าช้าถึงร้อยละ 26 ส่วนเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นที่มีภาวะสูงด ...
    • ต้นแบบร่างข้อกำหนดของการจัดบริการขั้นต่ำที่จำเป็นและแนวทางการตรวจประเมินบริการในกลุ่มผู้ป่วยระยะท้าย 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; พรเลิศ ฉัตรแก้ว; ภรเอก มนัสวานิช; สุรีรัตน์ งามเกียรติไพศาล; ภาวิกา ศรีรัตนบัลล์; พรทิพย์ ปรีชาไชยวิทย์; พิมพ์ณิชา เทพวัลย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-04)
      การบริบาลเพื่อคุณภาพชีวิตในระยะท้าย (Hospice Care) เป็นการดูแลรักษาผู้ป่วยแบบประคับประคอง โดยมิได้มีจุดมุ่งหมายเพียงเพื่อรักษาโรคของผู้ป่วยเพียงอย่างเดียว แต่เป็นการให้การดูแลผู้ป่วยระยะท้าย ด้วยวิธีการรักษาแบบองค์รวม ...
    • ถอดบทเรียนการนำแบบตรวจสอบรายการผ่าตัดปลอดภัยมาใช้ในประเทศไทย 

      นงเยาว์ เกษตร์ภิบาล; Nongyao Kasatpibal; ยอดยิ่ง ปัญจสวัสดิ์วงศ์; Yodying Punjasawadwong; จิตตาภรณ์ จิตรีเชื้อ; Jittaporn Chitreecheur; นเรนทร์ โชติรสนิรมิต; Narain Chotirosniramit; สมใจ ศิระกมล; Somjai Sirakamon; ปาริชาติ ภัควิภาส; Parichat Pakvipas (สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-02)
      การถอดบทเรียน เรื่อง การนำแบบตรวจสอบรายการผ่าตัดปลอดภัยมาใช้ในประเทศไทย เป็นกระบวนการอย่างหนึ่งในการจัดการความรู้ เป็นการค้นหาความรู้จากการปฏิบัติ เพื่อสร้างองค์ความรู้ที่ได้รับจากการปฏิบัติ และนำไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒ ...
    • ถอดบทเรียนรูปแบบการดูแลทางไกลด้วยระบบแยกกักตัวที่บ้านในมุมของกำลังคนด้านสุขภาพ ในเขตสุขภาพที่ 12 

      วรัญญา จิตรบรรทัด; Waranya Jitbantad; ภัทรธิดา ฟองงาม; Pattaratida Fong-ngam; ขัตติยา เสมอภพ; Khattiya Samerpop; ไมซาเร๊าะ ขุนรักษ์ หมานระเด็น; Maisaroh Khunrak Manraden; ฮัสสัน จิตรบรรทัด; Hassan Jitbantad (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-08)
      จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ที่ส่งผลให้อัตรากำลังคนด้านสุขภาพไม่เพียงพอต่อการดูแลผู้ติดเชื้อ ก่อให้เกิดรูปแบบการดูแลแบบแยกกักตัวที่บ้านและกลุ่มจิตอาสาด้านสุขภาพขึ้นโดยใช้รูปแบบการดูแลทางไกล การศึกษาครั้งนี้มีว ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)ประเภททรัพยากรนี้ปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [620]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1290]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [232]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV