• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
Research Reports เลือกตามชื่อเรื่อง 
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • Research Reports เลือกตามชื่อเรื่อง
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • Research Reports เลือกตามชื่อเรื่อง
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Research Reports เลือกตามชื่อเรื่อง

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1902-1921 จาก 2486

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • ผลจากการแบ่งกลุ่มย่อยระดับโมเลกุลในมะเร็งกระเพาะปัสสาวะที่รุกเข้าชั้นกล้ามเนื้อ โดยการจัดกลุ่มระดับการแสดงออกของยีนต่อการทำนายการรอดชีพ และการตอบสนองต่อการรักษา 

      ธนัญญ์ เพชรานนท์; Tanan Bejrananda; สุรศักดิ์ สังขทัต ณ อยุธยา; Surasak Sangkhathat; คเณศ กาญจนประดิษฐ์; Kanet Kanjanapradit; จิรกฤต แซ่ตั้ง; Jirakrit Saetang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      มะเร็งกระเพาะปัสสาวะชนิดที่รุกเข้ากล้ามเนื้อ (muscle invasive bladder cancer) ถือเป็นมะเร็งกระเพาะปัสสาวะชนิดที่มีความรุนแรง ยากต่อการรักษาและอัตราการรอดชีพต่ำ ในปัจจุบันการศึกษาในระดับโมเลกุลเพื่อหารูปแบบของมะเร็งที่สัม ...
    • ผลทันทีของการนวดฝ่าเท้าและการออกกำลังกายเท้าที่มีต่อการไหลเวียนเลือดของไตและความแปรปรวนของอัตราการเต้นของหัวใจในผู้สูงอายุ 

      กู้เกียรติ ทุดปอ; ธนารัตน์ ศรีผ่องงาม; Thanarat Sripongngam; จตุรัตน์ กันต์พิทยา; Jaturat Kanpittaya; วิทวัฒน์ ทะกอง; Wittawat Takong; Kukiat Tudpor (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-02)
      ในปัจจุบันพบว่าจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไตเรื้อรังเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ปัญหาหลักที่พบในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง คือ การลดลงของการไหลเวียนเลือดไปที่ไต ทำให้ไตได้รับเลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพอ ส่งผลให้เกิดการคั่งของของเสียในร่างกายเนื่อง ...
    • ผลระยะยาวของการให้วัคซีนไวรัสตับอักเสบ บี เมื่อแรกเกิด และวัคซีนรวมที่มีวัคซีนไวรัสตับอักเสบ บี อยู่ด้วย ในเด็กอายุ 2, 4, 6 และ 18 เดือน ศึกษาในเด็กอายุ 4 และ 5 ปี และการศึกษาระดับภูมิต้านทานและการตอบสนองของภูมิต้านทานต่อไวรัสตับอักเสบ บี หลังให้วัคซีนไวรัสตับอักเสบ บี เมื่อแรกเกิด และวัคซีนรวม DTPw-HiB-HB+OPV ที่ 2, 4, 6 เดือน ในแผนการให้วัคซีนแห่งชาติ 

      ยง ภู่วรวรรณ; Yong Poovorawan; ณศมน วรรณลภากร; Nasamon Wanlapakorn; นภา พฤฒารัตน์; Napa Pruetarat; นวรัตน์ โพธิ์สุวรรณ; Nawarat Posuwan; สมพงษ์ วงษ์พันสวัสดิ์; Sompong Vongpunsawad; พรศักดิ์ อยู่เจริญ; Pornsak Yoocharoen; กาญจนา พันธุ์พานิช; Kanchana Phanphanit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07)
      ประเทศไทยเริ่มให้วัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบ บี แก่เด็กแรกเกิดทั่วทั้งประเทศในปี พ.ศ. 2535 และต่อมาก็มีการปรับเปลี่ยนตารางการให้วัคซีนแก่เด็กและในอนาคตองค์การอนามัยโลกจะยกเลิกการให้วัคซีนโปลีโอแบบหยอดเป็นแบบฉีด ...
    • ผลลัพธ์การดำเนินงานบริบาลทางเภสัชกรรมในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงโดยเภสัชกรในคลินิกหมอครอบครัว: กรณีศึกษาเขตสุขภาพที่ 6 

      สายชล ชำปฏิ; Saichon Schampati; ธีรภัทร์ ฉันทพันธุ์; Theerapat Chantapan; ศรัณยา กล่อมใจขาว; Saranya Klomjaikhao; ใจนุช กาญจนภู; Jainuch Kanchanapoo; นฤมล โพธิ์ศรีทอง; Narumol Phosrithong; ถนอมพงษ์ เสถียรลัคนา; Thanompong Sathienluckana; สุวภาพ เตชะมหามณีรัตน์; Suwapab Techamahamaneerat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      โครงการวิจัยนี้เป็นการวิจัยผสมผสานแบบแผนรองรับภายในต่อเนื่องกันมี 2 ส่วน ส่วนที่ 1 การวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ ประสบการณ์ ปัญหาและอุปสรรคการดำเนินงานของเภสัชกรครอบครัวในคลินิกหมอครอบครัว ...
    • ผลลัพธ์การดูแลรักษาผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ด้วยระบบการแยกกักตัวที่บ้าน 

      สุพัตรา ศรีวณิชชากร; Supattra Srivanichakorn; ราม รังสินธุ์; Ram Rangsin; กิตติ วงศ์ถาวราวัฒน์; Kitti Wongthavarawat; อรุโณทัย ศิริอัศวกุล; Arunotai Siriussawakul; ปารวี ชีวะอิสระกุล; Parawee Chevaisrakul; วราลักษณ์ ศรีนนท์ประเสริฐ; Varalak Srinonprasert; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; สายรัตน์ นกน้อย; Sairat Noknoy; ยุพดี ศิริสินสุข; Yupadee Sirisinsuk; ธีระบูลย์ เลิศวณิชย์วัฒนา; Teeraboon Lertwanichwattana; พุทธภูมิ ลำเจียกเทศ; Putthapoom Lumjiaktase; ศิรินภา ศิริพร ณ ราชสีมา; Sirinapa Siriporn Na Ratchaseema; พงศ์ธร เกียรติดำรงวงศ์; Pongtorn Kietdumrongwong; นิตยา ภานุภาค; Nittaya Phanuphak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      สถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 ของประเทศไทย พบว่า เกิดความรุนแรงถึงระดับภาวะวิกฤตทางด้านสาธารณสุข จากการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ระลอกที่ 3 ตั้งแต่เดือนเมษายน พ.ศ. 2564 โดยเกิดภาวะวิกฤตสูงสุดในช่วงเดือนกรกฎาคมถึงกันยายน ...
    • ผลลัพธ์ต่อพฤติกรรมการสั่งยาและผู้ป่วยจากการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผล 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; เชิดชัย สุนทรภาส; Cheardchai Soontornpas; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; Onanong Waleekhachonloet; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; Thananan Rattanachotphanit; รัชฎาพร สุนทรภาส; Ratchadaporn Soontornpas; เบญจพร ศิลารักษ์; Benjaporn Silaruks; รัชตะ อุลมาน; Ratchata Unlamarn; ภคอร อุลมาน; Phakaon Unlamarn; นรภัทร จิตไธสง; Norapat Jitthaisong; ธิติ ทุมเสน; Thiti Tumsen; พิมพ์ประภา กิจวิธี; Pimprapa Kitwitee; จาติกา รัตนดาดาษ; Jatica Ratanadadas (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-03)
      งานวิจัยนี้ประเมินผลการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผล (นโยบาย RDU Hospital/RDU Service Plan) โดยมุ่งเน้นผลลัพธ์ที่เกิดจากนโยบาย อาศัยการวิเคราะห์ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ขนาดใหญ่ ศึกษาการเปลี่ยนแปลงแนวโน้มของตั ...
    • ผลสัมฤทธิ์การใช้บริการสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุและผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายสุขภาพของภาครัฐในอนาคต ในช่วงปี พ.ศ. 2554-2564 

      สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย เครือสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-07)
      ผลการวิเคราะห์สถานการณ์ระบบบริการสุขภาพของผู้สูงอายุไทยในปีงบประมาณ 2553 เปรียบเทียบกับสถานการณ์ในอดีต โดยใช้ฐานข้อมูลทุติยภูมิจากกรมบัญชีกลาง สํานักงานประกันสังคม สํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและหน่วยงานในกระทรวงสาธารณสุข ...
    • ผลสัมฤทธิ์ของการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการแก้ปัญหาโรคพิษสารหนู อำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช พ.ศ. 2548 

      ยุทธนา ศิลปรัสมี; Yuttana Sinlapratsamee; อำพร ณ นิโรจน์; Aumphorn Na Nirojana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      จังหวัดนครศรธรรมราชมีการทำเหมืองแร่ดีบุกเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะในเขต ต.ร่อนพิบูลย์ อ.ร่อนพิบูลย์ จ.นครศรีธรรมราช ที่มีการทำเหมืองแร่ดีบุกมาแล้วมากกว่า 60 ปี ในระยะเวลา 60 ปีนั้นมีการทิ้งน้ำเสียและเศษแร่ลงแม่น้ำเป็นจำนวนมา ...
    • ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและคุณภาพชีวิตของเด็กหูหนวกที่ได้รับการฝังประสาทหูเทียมในประเทศไทย 

      ภาธร ภิรมย์ไชย; Patorn Piromchai; ขวัญชนก ยิ้มแต้; Kwanchanok Yimtae; พนิดา ธนาวิรัตนานิจ; Panida Thanawirattananit; แสงระวี คีรินทร์; Saengrawee Keerin; ศิรวัฒน์ ศรีจันทร์; Sirawat Srichandr (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-02)
      ประสาทหูเทียม เป็นอุปกรณ์สำหรับผู้ป่วยที่มีปัญหาหูหนวกที่มีราคาแพง และมีข้อมูลประสิทธิผลในประเทศไทยน้อย ในปี พ.ศ. 2560 ทางสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ให้ทุนวิจัยเพื่อจัดตั้งโครงการประสาทหูเทียมในประเทศไทย เพื่อติดตา ...
    • ผู้พิการจากมุมมองทางปรัชญา 

      ปกรณ์ สิงห์สุริยา; วิภาดา อังสุมาลิน (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549-07)
      รายงานการศึกษาเรื่อง ผู้พิการจากมุมมองทางปรัชญา ภาคใต้โครงการ ศาสนากับคนพิการในประเทศไทย วัตถุประสงค์เพื่อศึกษามโนทัศน์และทฤษฎีต่างๆ ทางปรัชญาที่มีความสำคัญเกี่ยวข้องกับเรื่องผู้พิการ รวมถึงศึกษากรอบแนวคิดในการเสริมคุณค่ ...
    • พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถในบริบทของการประกันสุขภาพถ้วนหน้า : ข้อเสนอเพื่อการปฏิรูป 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; จงกล เลิศเธียรดำรง; วลัยพร พัชรนฤมล; Jongkol Lertiendumrong; Walaiporn Patcharanarumol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถดำเนินการมาตั้งแต่ปี 2535 แม้ว่าจะเป็นการประกันภาคบังคับ บริษัทประกันวินาศภัย ที่มุ่งกำไร เป็นผู้บริหารโครงการนี้ทั้งหมด แทนที่จะเป็นภาครัฐ พ.ร.บ.นี้ ให้การคุ้มครองโดยจ่ายสินไหมทดแทนกรณีรักษาพยาบาล ...
    • พยาบาลและระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ 

      วิจิตร ศรีสุพรรณ; ประคิณ สุจฉายา; ขนิษฐา นันทบุตร; อุไร หัตถกิจ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      รายงานวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดให้มีกระบวนการพัฒนาแนวคิดในการจัดและให้บริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ ในชุมชน ภายใต้บริบทของสังคมวัฒนธรรมและการปฏิรูประบบสุขภาพในอนาคต โดยมุ่งเน้นบทบาทของวิชาชีพการพยาบาลเป็นหลัก ...
    • พรมแดนความรู้ทางด้านจิตวิญญาณและสุนทรียภาพกับสุขภาพในกระบวนทัศน์ใหม่ 

      นิพนธ์ แจ่มดวง; Nipon Jaemduang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      ด้วยทัศนะพื้นฐานของมนุษย์ที่มองเห็นชีวิตตนเองและโลกรอบตัวในทิศทางแห่งการวิวัฒน์ไปเบื้องหน้า จากความต่ำต้อยไปสู่ความสูงส่ง ความสับสนไปสู่ระเบียบแบบแผน ความมืดมิดไปสู่แสงสว่าง และความล้าหลังไปสู่ก้าวหน้า ที่สุดจนยุคของก้อน ...
    • พระพุทธศาสนากับการเสริมสร้างพลังในการดำรงชีวิตและทัศนคติที่เหมาะสมของคนพิการกรณีคนพิการในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 

      ปาริชาด สุวรรณบุบผา; จตุพร ไชยทองศรี; ตรีนุช พลางกูร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549-07)
      การศึกษาวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์คำสอน วิธีคิด และท่าทีแบบพุทธที่สนับสนุนศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ และการพัฒนาตนเองของคนพิการ เพื่อใช้พลังทางศาสนาในการเสริมสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องต่อตนเอง รวมทั้งศึกษาทัศนค ...
    • พฤติกรรม ประสบการณ์และค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองนครศรีอยุธยา และความคิดเห็นต่อบริการของศูนย์แพทย์ชุมชนเขตเมืองนครศรีอยุธยา 

      สุพัตรา ศรีวณิชชากร; Supattra Srivanichakorn; ณัฐพร สุขพอดี; เยาวรัตน์ ศุภกรรม; รัตนา เกลี้ยงจิตรแผ้ว (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      พฤติกรรม ประสบการณ์และค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองพระนครศรีอยุธยา และความคิดเห็นต่อบริการของศูนย์แพทย์ชุมชนเขตเมืองนครศรีอยุธยา การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้บริการสุขภาพและค่าใช ...
    • พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 

      โสภนา สุดสมบูรณ์; อัญชลี เหมชะญาติ; ประยงค์ แก่นลา; สุดารัตน์ สุดสมบูรณ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-01)
      การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการการดูแลตนเองของผู้สูงอายุตามทฤษฎีการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ (Pender) 2) ศึกษาพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3) ศึกษาสภาพการดูแลต ...
    • พฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มผสมแคฟเฟอีน ในประเทศไทย 

      ยงยุทธ ขจรธรรม; Yongyout Kachondham; สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ; จิตรา เศรษฐอุดม; พรพิศ ศิลขวุธท์; นิภา โรจน์รุ่งวศินกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2536)
      พฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มผสมแคฟเฟอีน ในประเทศไทย การวิจัย มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาและวิเคราะห์สภาพปัญหา การบริโภคเครื่องดื่มผสมแคฟเฟอีนในประเด็นต่างๆ วิธีดำเนินการโดยเก็บข้อมูลจากประชากรกลุ่มอาชีพต่างๆ จำนวน ...
    • พฤติกรรมการใช้ยาในผู้สูงอายุไทย 

      อุไรวรรณ ชัยชนะวิโรจน์; Uraiwan Chaichanawirote; นิรนาท วิทยโชคกิติคุณ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-10)
      พฤติกรรมการใช้ยาที่ไม่เหมาะสมของผู้สูงอายุเป็นสาเหตุหนึ่งของปัญหาการใช้ยา ทำให้เกิดปัญหาสุขภาพที่ทำให้ผู้สูงอายุต้องเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้ยา ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ...
    • พฤติกรรมการใช้สารเสพติดเพื่อความบันเทิงในเขตเมืองเชียงใหม่ 

      กนิษฐา ไทยกล้า; อภินันท์ อร่ามรัตน์; เจิมขวัญ รัชชุศานติ (สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2553-02)
      ปัญหาสารเสพติดเป็นปัญหาที่เร่งด่วนที่น่าจะทำการศึกษาเพื่อให้ได้แนวทางในการเฝ้าระวังติดตามปัญหาที่รวดเร็วขึ้น และเป็นการสะท้อนสถานการณ์ปัญหาที่มีความชัดเจนยิ่งขึ้น การเฝ้าระวังสถานภาพ อุปทาน อุปสงค์ และผลกระทบของการใช้ ...
    • พฤติกรรมการใช้สารเสพติดในนักเรียนมัธยม : กรณีศึกษาในโรงเรียนแห่งหนึ่ง จ.อุบลราชธานี 

      จิรวัฒน์ มูลศาสตร์; Jirawat Mulsat; อินทิรา เรืองสิทธิ์; รัชนี วีระสุขสวัสดิ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      วัตถุประสงค์ของการศึกษาวิจัยนี้ เพื่อทราบพฤติกรรมการใช้สารเสพติดของนักเรียนมัธยม ในโรงเรียนมัธยมแห่งหนึ่งใน จ.อุบลราชธานี รวมทั้ง เหล้า, บุหรี่ โดยเน้นที่การใช้ยาบ้าหรือแอมเฟตามีน วิเคราะห์ถึงปัจจัยที่อาจส่งผลต่อพฤต ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)ประเภททรัพยากรนี้ปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [620]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV