Now showing items 1-20 of 66

    • กระบวนการประชาสังคมเพื่อการปฏิรูปโรงพยาบาลของรัฐระดับอำเภอเพื่อร่วมเรียนรู้สู่โรงพยาบาลชุมชนเพื่อชุมชน 

      องอาจ วิพุธศิริ; Ongart Viputsiri; พรชัย สิทธิศรัณย์กุล; จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; มยุรี จิรวิศิษฎ์; ชัชวาล ประภาวิทย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      กระบวนการประชาสังคมเพื่อการปฏิรูปโรงพยาบาลของรัฐ: กระบวนการเรียนรู้สู่โรงพยาบาลชุมชนเพื่อชุมชน ดำเนินการในรูปกระบวนการร่วมคิดร่วมพัฒนาและเข้าใจร่วมกันในกลุ่มภาคีในรูประชาคมเพื่อสร้างความเข้าใจและสามัคคีในการปฏิรูปโรงพยาบ ...
    • กระบวนทัศน์สุขภาพและนิเวศวิทยาแนวลึก 

      ณัฐฬส วังวิญญู; Natlos Wangwinyu (สถาบันขวัญเมือง, 2546)
      ในช่วงระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมา กระแสความคิดกระบวนทัศน์ใหม่ดูเหมือนจะได้รับการกล่าวถึงมากขึ้นเรื่อยๆ ในสังคม โดยเฉพาะในแวดวงนักวิชาการ และในขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมในส่วนต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านการศึกษา สุขภาพ และสิ่งแวดล้อม ...
    • กระบวนทัศน์เกี่ยวกับสุขภาพและภูมิปัญญาพื้นบ้านเกี่ยวกับสุขภาพ : มุมมองจากทฤษฎีสังคม 

      ฉลาดชาย รมิตานนท์; Chalatchai Ramitanon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      หนังสือเล่มนี้เป็นการรวบรวมและเรียบเรียงแนวความคิดทางทฤษฎีสังคมศาสตร์ที่อาจสามารถนำมาใช้เพื่อศึกษาทำความเข้าใจมิติทางด้านสุขภาพอนามัยของสังคมไทย โดยให้ความสนใจเป็นพิเศษกับการชี้ประเด็นเบื้องต้นบางประการที่อาจนำมาใช้ศึกษา ...
    • กลยุทธ์การผลักดัน (ร่าง) พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ 

      ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์; Tippawan Lorsuwannarat; สันติชัย อินทรอ่อน; สุขยืน เทพทอง; Suntichai Inthornon; Sookyuen Tepthong (คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2547)
      รายงานฉบับนี้เป็นการนำเสนอผลการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับกลยุทธ์การผลักดัน (ร่าง) พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ โดยนำแนวความคิดของการจัดการเชิงกลยุทธ์และเทคนิค TOWS Martix มาใช้ในการวิเคราะห์ ผลการศึกษาได้เสนอกลยุทธ์ 4 ทางเลือก คือ ...
    • กลไกกำกับสุขภาพภาคประชาชนกับกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 

      วงศา เลาหศิริวงศ์; Wongsa Laohasiriwong; วิไลวรรณ เทียนประชา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีคิด การให้คุณค่า และวิธีการปฏิบัติ ตลอดจนการก่อตัวของกลไกกำกับสุขภาพภาคประชาชนในกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยใช้กระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพ ดำเนินการวิจัย 2 ...
    • กลไกสุขภาพภาคประชาชนกับกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพ 

      ศรีประภา เพชรมีศรี; Sripharpa Phetmeesri; สุวดี แก้วอินทร์สรวล; รัตนา เลี้ยวสกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      รายงานผลการศึกษา เรื่อง กลไกสุขภาพภาคประชาชนกับกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพ (ภาคใต้) เป็นผลการติดตามการเคลื่อนใหวของภาคประชาสังคมในฐานะที่เป็นทั้งผู้ที่จะได้รับประโยชน์ และผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากความพยายามในการปฏิรูประบบสุข ...
    • กลไกสุขภาพภาคประชาชนกับกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพ : กรณีศึกษากลไกสุขภาพภาคกลาง 2546 

      สุวจี กู๊ด; Suvajee Good (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การศึกษาครั้งนี้ประกอบด้วยการศึกษากลไกสุขภาพภาคประชาชน กับกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพ จากปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในเวทีสมัชชาสุขภาพในพื้นที่ระดับจังหวัดและระดับภาค เป็นอันดับหนึ่งที่ทําให้เห็นภาพกระบวนการที่น่าจะเป็นการก่อกําเนิด ...
    • กลไกสุขภาพภาคประชาชนกับกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพในภาคเหนือ 

      เพ็ญประภา ศิวิโรจน์; Penprapa Siwirod; พิกุล นันทชัยพันธ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การวิจัยเรื่องนี้มุ่งทำความเข้าใจถึงวิธีคิด วิธีปฏิบัติ และวิธีให้คุณค่าเกี่ยวกับการกลไกการขับเคลื่อนเรื่องสุขภาพและผลกระทบของกลไกการปฏิรูประบบสุขภาพที่ผ่านมา และที่กำลังดำเนินอยู่ในปัจจุบันโดยการศึกษาการรับรู้ ...
    • การขับเคลื่อนขบวนการปฏิรูประบบสุขภาพด้วยกลไกสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2546 

      สุวจี กู๊ด; Suvajee Good (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การศึกษาการขับเคลื่อนขบวนการปฏิรูประบบสุขภาพด้วยกลไกสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2546 เป็นการบันทึกปรากฏการณ์ในการจัดเวทีสมัชชาสุขภาพแห่งชาติในฐานะที่เป็นกลไกสำคัญในการเปลี่ยนแปลงบริบทของการมีส่วนร่วมในกระบวนการทางกฎหมายและ ...
    • การจัดกระบวนการสร้างแนวร่วมการทำงานของสถานจัดการงานวิจัยระบบสาธารณสุขภาคเหนือในอนาคต 

      วิลาวัณย์ เสนารัตน์; Wilawan Senarat; ชมนาด พจนามาตร์; สุสัณหา ยิ้มแย้ม; Chomnard Potjanamart; Susanha Yimyaem (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อระดมความคิดเห็นต่อประเด็นสุขภาพ ระบบสุขภาพและพลวัตรทางการเมืองและสังคมเมืองและสังคมใน 8 จังหวัดภาคเหนือ เพื่อกำหนดกรอบทิศทางการวิจัยสุขภาพที่ตอบสนองต่อพลวัตรระบบสุขภาพภาคเหนือ ...
    • การทบทวนศึกษาพันธกิจการปฏิรูประบบสุขภาพในอนาคต : มุมมองจากองค์กรท้องถิ่น ประชาสังคม และทุนทางสังคม 

      อุทัย ดุลยเกษม; Uthai Dulyakasem; สุริชัย หวันแก้ว; วีระ สมบูรณ์; ทศพล แก้วประพันธ์; Surichai Hwankaeow; Weera Somboon; Thonsapol Kaeowphapan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2548 อันเป็นวันที่มีพิธีปิดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทคบางนา กรุงเทพมหานคร ผู้ที่เข้าร่วมงานทุกคน และผู้ที่ติดตามข่าวคราวเรื่อง การปฏิรูประบบสุขภาพของประเทศไทย มีความหวังอ ...
    • การปฏิรูประบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ : กรณีศึกษาอำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา 

      สุนุตตรา ตะบูนพงศ์; Sunuttra Tabunphong; วรวิทย์ กิติศักดิ์รณกรณ์; อุไร หัถกิจ; วันดี สุทธรังษี; อภิรัตน์ อิ้มพัฒน์; Worawit Kittisakronakon; Urai Hattakit; Wandee Sutarangsri; Apirat Oimpat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อการพัฒนาระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ: กรณีศึกษาอำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา ประกอบด้วย 4 ขั้นตอนคือ 1) การศึกษาสถานการณ์ 2) การออกแบบระบบบริการสุขภาพตามความต้องการของชุมชน แหล่งประโยชน์ และศักยภาพ ...
    • การปฏิรูประบบบริการสุขภาพในประเทศอิสราเอล 

      อาทร ริ้วไพบูลย์; Athorn Riewpaiboon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      อิสราเอลเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วมีภาวะเศรษฐกิจที่ดี มีประชากรประมาณ 6 ล้านคนแต่มีพัฒนาการและสภาวะทางการเมืองรวมทั้งการพัฒนานโยบายด้านสาธารณสุขที่มีลักษณะเฉพาะ นับแต่การอพยพของชาวยิวเข้าไปอยู่ในดินแดนที่จะก่อตั้งเป็นประเทศในปัจจุบัน ...
    • การปฏิรูประบบสุขภาพ : กรณีศึกษาประเทศอังกฤษ(ฉบับรวม) 

      ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์; Teerakiat Jareonsettasin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      การปฏิรูประบบสุขภาพ กรณีศึกษาประเทศอังกฤษวัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อนำเสนอระบบสุขภาพของประเทศอังกฤษให้ละเอียดและเป็นที่เข้าใจได้ง่ายเพื่อนำเสนอกระบวนการและประเด็นที่สำคัญในการปฏิรูประบบสุขภาพของอังกฤษเพื่อนำประเด็นต่างๆ ...
    • การปฏิรูประบบสุขภาพ : กรณีศึกษาประเทศไต้หวัน 

      วิชิต เปานิล; Wichit Paonil (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      การปฏิรูประบบสุขภาพ: กรณีศึกษาประเทศไต้หวันการศึกษานี้ทำขึ้นเพื่อนำเสนอพัฒนาการของระบบสุขภาพของไต้หวัน ทั้งในส่วนปัญหา และวิธีการแก้ไขโดยเฉพาะประเด็นการปฏิรูประบบสุขภาพ เพื่อใช้เป็นบทเรียนประกอบการพัฒนาระบบสุขภาพของไทย ...
    • การปฏิรูประบบสุขภาพ : ประสบการณ์จาก 10 ประเทศ 

      เสาวคนธ์ รัตนวิจิตราศิลป์; Sauwakon Ratanawijitrasin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      การปฏิรูประบบสุขภาพ: ประสบการณ์จาก 10 ประเทศเป็นการสังเคราะห์บทเรียนการปฏิรูประบบสุขภาพของต่างประเทศจำนวน 10 ประเทศคือ ประเทศเยอรมนี อังกฤษ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ จีนไต้หวัน สิงคโปร์ มาเลเซีย และสหรัฐอเมริกา ...
    • การปฏิรูประบบสุขภาพของประเทศมาเลเซีย 

      อาทร ริ้วไพบูลย์; Athorn Riewpaiboon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      Health systems reform in Malaysia(phase II)Malaysia had been recognised as one with the best economy and healthcare system in the region. The health services were subsidised by the governmental budget as social welfare. ...
    • การประเมินการดำเนินงานพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 ตามแนวคิดทุกนโยบายห่วงใยสุขภาพในประเทศไทย 

      จอมขวัญ โยธาสมุทร; Jomkwan Yothasamut; วิรุฬ ลิ้มสวาท; Wirun Limsawart; ธีรพัฒน์ อังศุชวาล; Theerapat Ungsuchaval; คนางค์ คันธมธุรพจน์; Kanang Kantamaturapoj; ศรวณีย์ อวนศรี; Sonvanee Uansri; จุฑามาศ ปิยะวงษ์; Jutamas Piyawong; อารยา ญาณพิบูลย์; Araya Yanpiboon; กานติมา วิชชุวรนันท์; Kantima Wichuwaranan; จุฑามณี สารเสวก; Chuthamanee Sarnsawek; กรวรรณ พูนสวัสดิ์; Korawan Poonsawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07-19)
      แนวคิด “ทุกนโยบายห่วงใยสุขภาพ” หรือ Health in All Policies (HiAP) ได้ถูกกล่าวถึงในฐานะแนวคิดและหลักการ ซึ่งกำหนดอยู่ในพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 และมีการนำไปปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ยังมีช่องว่างขององค์ความรู้ ...
    • การประเมินผลการดำเนินงานของแผนงานวิจัยและพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพและระบบการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HPP-HIA) 

      ปาริชาติ ศิวะรักษ์; Pharichat Siwarak; สุกรานต์ โรจนไพรวงศ์; สุรพล เหลี่ยมสูงเนิน; วนิดา วัฒนชีวโนปกรณ์; เทวธิดา ขันคามโภชก์; Sukran Rojjanaphaiwong; Suraphol Liamsungnoen; Wanida Watanachiwanopakorn; Thewatid Kankamphod (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ได้ริเริ่มให้การสนับสนุนแผนงานวิจัยและพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพและระบบการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HPP-HIA) โดยมุ่งหวังที่จะพัฒนาให้เป็นกลไกสำคัญในการสนับสนุนการปฏิรูประบบสุขภาพและการส ...
    • การประเมินพันธกิจสำนักงานปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ 

      สันติชัย อินทรอ่อน; Santichi Intaraoon; จริยา บุณยะประภัศร; สุขยืน เทพทอง; Suriya Bunyaphaphason; Sukyuen Tapthong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การวิจัยเรื่อง การประเมินพันธกิจสำนักงานปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ มีวัตถุประสงค์การวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่มีผลต่อการผลักดัน (ร่าง) พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ และ 2) เพื่อการวางแผนในการจัดทำยุทธศาสตร์ในการขับเคลื่อน ...