Browsing Research Reports by Subject "ตัวชี้วัด"
Now showing items 1-20 of 23
-
การจัดทำกลไกการบริหารจัดการและบริการแบบบูรณาการในพื้นที่เขตสุขภาพนำร่อง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)การดำเนินการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ (1) เพื่อวิเคราะห์และจัดทำข้อเสนอมาตรการนำร่อง เพื่อสนับสนุนการทำงานขับเคลื่อนการพัฒนาเขตสุขภาพนำร่อง (Regulatory Sandbox) รวมทั้งการกำหนดเกณฑ์/ตัวชี้วัดในการติดตามและประเมินผลการดำเนินการ ... -
การทดลองใช้และประเมินผลตัวชี้วัดสำหรับงานเภสัชกรรมในโรงพยาบาล
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)ตัวชี้วัดจัดเป็นเครื่องมือหนึ่งที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาและการจัดระบบสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานขององค์กร ไม่ว่าจะเป็นระดับจุลภาคหรือในระดับมหภาค ซึ่งระบบสารสนเทศตัวชี้วัดดังกล่าวต้องมีความเป็ ... -
การพัฒนาข้อเสนอตัวชี้วัดการใช้ยาอย่างสมเหตุผลสำหรับสถานพยาบาลและร้านยา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)การใช้ยาอย่างสมเหตุผลถูกกำหนดเป็นยุทธศาสตร์หนึ่งในนโยบายแห่งชาติด้านยาตั้งแต่นโยบายแห่งชาติด้านยาฉบับแรก ในปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุขกำหนดให้การใช้ยาอย่างสมเหตุผลและการจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพเป็นโครงการภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ... -
การพัฒนาชุดตัวชี้วัดระบบสุขภาพเพื่อติดตาม ประเมินผล และจัดทำรายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพไทย ตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 เรื่อง ระบบสุขภาพชุมชนเมือง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-03)ที่มาและความสำคัญ: การขยายตัวของความเป็นเมืองในประเทศไทยก่อให้เกิดความท้าทายใหม่ในการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน โดยเฉพาะในประเด็นสุขภาวะเขตเมืองที่ซับซ้อนและแตกต่างจากบริบทชนบท ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 3 พ.ศ. ... -
การพัฒนาตัวชี้วัดความพึงพอใจต่อคุณภาพบริการผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลชุมชน
(สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพิษณุโลก, 2553-02)การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและตรวจสอบคุณภาพของตัวชี้วัดความพึงพอใจของผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลชุมชน ด้วยวิธีการวิจัยและพัฒนา ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้กระบวนการหาฉันทามติแบบพหุลักษณ์ ... -
การพัฒนาตัวชี้วัดธรรมาภิบาลการบริหารจัดการของสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-12)งานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาตัวชี้วัดธรรมาภิบาลการบริหารจัดการของสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด” ซึ่งสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ได้มอบให้ศูนย์วิจัยเศรษฐศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทําการศึกษาวิจัยนั้นมีวัตถุประสงค ... -
การพัฒนาตัวชี้วัดระบบสุขภาพในมุมมองของประชาชน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551) -
การพัฒนาตัวชี้วัดหลักกำลังคนด้านสุขภาพของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, สำนักงานวิจัยและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ (สวค.) ภายใต้มูลนิธิเพื่อการพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2564-04)การศึกษานี้มีเป้าหมาย เพื่อพัฒนาข้อเสนอตัวชี้วัดหลักในเรื่องกำลังคนด้านสุขภาพของประเทศไทย โดยจะครอบคลุมถึงการจัดทำมาตรฐานข้อมูลและหน่วยงานที่เกี่ยวของในแต่ละตัวชี้วัดดังกล่าว และพัฒนาข้อเสนอความเป็นไปได้ในการพัฒนาระบบการ ... -
การพัฒนาตัวชี้วัดเพื่อติดตามและประเมินผลการขับเคลื่อนงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในชุมชนของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-11)งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาตัวชี้วัดเพื่อติดตามและประเมินผลการขับเคลื่อนงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในชุมชนของประเทศไทย โดยมีรูปแบบการศึกษา 4 ขั้นตอน ดังนี้ (1) การทบทวนวรรณกรรมจากเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (Document ... -
การพัฒนาตัวชี้วัดเพื่อติดตามและประเมินผลประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)ที่มาและความสำคัญ: ประเทศไทยมีการพัฒนาเชิงยุทธศาสตร์และการดำเนินการเพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุผลมาอย่างต่อเนื่อง จากการมีนโยบายการพัฒนาสู่ประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล ซึ่งประกาศใช้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2562 เป็นต้นมา ... -
การพัฒนาตัวชี้วัดและจัดทำรายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพไทย ตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 หมวดการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-12)มาตรา 25(5) และ มาตรา 27(3) แห่งพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 กำหนดให้คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ มีหน้าที่และอำนาจกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการติดตามและประเมินผลเกี่ยวกับระบบสุขภาพแห่งชาติ และให้สำนักงานคณะกรรมการส ... -
การพัฒนาตัวชี้วัดและจัดทำรายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพไทย ตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 เรื่องการเงินการคลังด้านสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-11)งานวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 และธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติฉบับที่ 3 พ.ศ. 2565 ซึ่งกำหนดให้คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติติดตามและประเมินผลสถานการณ์ระบบสุขภาพ และมีการทบทวนธ ... -
การพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อรองรับตัวชี้วัดการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01)โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อรองรับตัวชี้วัดการใช้ยาอย่างสมเหตุผล มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบโครงสร้างฐานข้อมูลเพื่อใช้สำหรับตอบตัวชี้วัดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาสมเหตุผลในทุกระดับ มีการดำเนินการ 3 ส่วน ได้แก่ 1) ... -
การพัฒนาแนวทางการกำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดของการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพของ สสส. โดยใช้ข้อมูลจากการศึกษาต้นทุนความเจ็บป่วย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขโครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ, 2554)การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวทางการกำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดของการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพของ สสส. ด้วยการวิเคราะห์ต้นทุน-ผลได้ (Cost-benefit analysis) โดยการนำข้อมูลจากการวิเคราะห์ต้นทุนความเจ็บป่วยด้วย ... -
การศึกษากระบวนการถ่ายทอดตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลักลงสู่การปฏิบัติใน 12 เขตสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-10)แม้ว่าการวัดผลการดำเนินงานคือหัวใจของแนวคิดการพัฒนาเพื่อการจัดระบบบริการสุขภาพให้มีคุณภาพ และมาตรฐาน แต่หากขาดความรู้ใน“กระบวนการถ่ายทอด”ซึ่งเป็นจุดเชื่อมต่อสำคัญระหว่างแผนยุทธศาสตร์กับการปฏิบัติงานประจำวันให้สอดรับตามเป ... -
การศึกษาและพัฒนาตัวชี้วัดการมีพฤติกรรมเสี่ยงด้านเพศสัมพันธ์ในนักเรียนมัธยมปลายและอาชีวศึกษา จังหวัดนครราชสีมา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)การศึกษาและพัฒนาตัวชี้วัดการมีพฤติกรรมเสี่ยงด้านเพศสัมพันธ์ในกลุ่มนักเรียนมัธยมปลายและอาชีวศึกษา จ. นครราชสีมา การศึกษาในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการพัฒนารูปแบบในการหาตัวชี้วัด การมี พฤติกรรมเสี่ยงด้านเพศสัมพันธ์ใ ... -
ตัวชี้วัดการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)การใช้ยาไม่สมเหตุผลเป็นปัญหาสำคัญของประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ยาเกินความจำเป็น การใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่คำนึงถึงเชื้อดื้อยา การใช้ยาราคาแพงนอกบัญชียาหลัก การใช้ยาที่มีความเสี่ยงต่อความไม่ปลอดภัย การใช้ยาโดยบุคลากรทางการแ ... -
ตัวชี้วัดคุณภาพจากข้อมูลผู้ป่วยใน (Administrative data) กับคุณลักษณะของโรงพยาบาล
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)การศึกษาวิจัยเรื่องตัวชี้วัดคุณภาพจากข้อมูลผู้ป่วยในกับคุณลักษณะของโรงพยาบาล เป็นการศึกษาถึงตัวชี้วัดทางคุณภาพของหน่วยบริการจากข้อมูลผู้ป่วยใน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบตัวชี้วัดซึ่งมีการใช้ในการประเมินคุณภาพของหน่วยบริ ... -
ตัวแบบการดูแลผู้สูงอายุที่ดีของครอบครัวและชุมชนเขตเมืองและกรุงเทพมหานคร
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย, 2552)การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมในสังคมผู้สูงอายุของประเทศไทย ทำให้มีอุปสรรคในการดูแลผู้สูงอายุตามวัฒนธรรมไทยที่เคยปฏิบัติมาในอดีต อย่างไรก็ตามบางชุมชนและบางครอบครัวยังสามารถให้การดูแลผู้สูงอายุได้เป็นอย่างดี การค้นหาแล ... -
ยุทธศาสตร์เพื่อการรองรับโรคสมองเสื่อมของระบบประสาท : สู่การใช้ตัวชี้วัดชีวภาพในเวชปฏิบัติจริง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-05-21)วัตถุประสงค์ : ประเทศไทยกำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุและภาระทางเศรษฐกิจอันเกิดจากโรคความเสื่อมของระบบประสาท (Neurodegenerative Diseases, NDDs) จะพุ่งทะยานขึ้น ซึ่งนับเป็นความท้าทายอย่างมากสำหรับประเทศรายได้ปานกลาง ทั้งนี้ ...