Browsing Research Reports by Subject "หลักประกันสุขภาพ"
Now showing items 1-20 of 36
-
การคลังระยะยาวของโครงการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ : ประมาณการรายจ่ายและแหล่งรายรับ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นนโยบายที่สำคัญของรัฐบาล ครอบคลุมประชากรไทยร้อยละ 75 อยู่ แต่ได้รับการงบประมาณอุดหนุน ด้วยอัตราเหมาจ่ายรายหัวที่จำกัดต่ำกว่าข้อเท็จจริงของอัตราการใช้ และต้นทุนบริการ และมีปัญหาความยั่งยื ... -
การคุ้มครองผู้บริโภคในระบบประกันสุขภาพที่เหมาะสม
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-09)การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพเป็นมาตรการหนึ่งในการสร้างความมั่นคงทางสังคมหลักใหญ่เป็นการคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภคฯ ประเทศไทยมีกฎหมายกําหนดสิทธิผู้บริโภคด้านสุขภาพหลายฉบับ รวมทั้งกําหนดกลไกให้ทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ เอกชน ... -
การคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถในส่วนของการประกันสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)ในปี พ.ศ. 2535 รัฐบาลได้ผลักดันพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 บังคับใช้เพื่อให้เจ้าของรถทุกคันต้องร่วมรับผิดชอบต่ออุบัติเหตุจากรถที่อาจจะเกิดขึ้น โดยกำหนดให้รถทุกคันต้องตัดให้มีการประกันภัยต่อความเสียหายในร่างกาย ... -
การจัดระบบและคาดการณ์งบประมาณเพื่อชดเชยค่าบริการทางการแพทย์กรณีส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับเด็กต่างด้าว
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-07-31)การขยายหลักประกันสุขภาพให้ครอบคลุมบุคคลทุกคนบนแผ่นดินไทยนั้น มีความพยายามในการดำเนินการมาอย่างต่อเนื่องดังปรากฏเป็นลายลักษณ์อักษร ในวิสัยทัศน์ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) รวมถึงแผนแม่บทการแก้ปัญหาและพัฒนาง ... -
การจัดระบบและคาดการณ์งบประมาณเพื่อชดเชยค่าบริการทางการแพทย์ฉุกเฉินและภาวะวิกฤตสำหรับบุคคลต่างด้าวที่ตกหล่นจากการประกันสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01-31)ในประเทศไทยมีความพยายามในการขึ้นทะเบียนและให้การคุ้มครองสุขภาพสำหรับบุคคลต่างด้าวอย่างต่อเนื่อง นโยบายที่สำคัญในการคุ้มครองสุขภาพคนต่างด้าว คือ นโยบายประกันสุขภาพ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ นโยบายประกันสุขภาพผู้มีปัญหาสถ ... -
การดำเนินการและการปรับตัวของโครงการประกันสังคม
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)รายงานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์การศึกษา 1. เพื่อศึกษาถึงการดำเนินงานของสำนักงานประกันสังคมซึ่งเป็นผู้บริหารกองทุนประกันสังคมและกองทุนเงินทดแทนผู้ประสบภัยจากการทำงานในส่วนของการให้ความคุ้มครองด้านสุขภาพแก่ผู้ประกันตนและลูกจ้าง ... -
การติดตามประเมินผลการดำเนินโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)รายงานฉบับนี้เป็นผลจากการติดตามและประเมินผลการดำเนินโครงการ 30 บาท รักษาทุกโรค ระหว่างเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2544 - มิถุนายน พ.ศ. 2545 ซึ่งตามกรอบการศึกษา จะให้ความสำคัญกับกลไก (mechanism) และกระบวนการ (process) ในการดำเนินการ ... -
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล)ของจังหวัดพิจิตร ปี 2551
(แผนงานร่วมสร้างเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า(ผรส.), 2552-07)การวิจัยเรื่อง “การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น (ตำบล) ของจังหวัดพิจิตร ปี 2551” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ด้านงบประมาณ บทบาทของคณะกรรมการกองทุนฯ ในการบริหารจัดการงบประมาณ และการดำเนินงานส่ ... -
การประเมินผลการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากและข้อเสนอเชิงนโยบาย การเข้าถึงบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพ ภายใต้ชุดสิทธิประโยชน์ หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)วัตถุประสงค์การศึกษานี้เพื่อศึกษาสถานการณ์การเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากของประชาชนไทย โดยวิเคราะห์จากฐานข้อมูลดิบ (raw data) การสำรวจอนามัยและสวัสดิการและการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ... -
การประเมินระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในช่วงทศวรรษแรก 2544-2553
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)ทำการประเมินในปี พ. ศ. 2554 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า และ ประเมินว่าการปฏิรูปในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ามีประเด็นใดบ้างที่ประสบผลสำเร็จ และประเด็นใดบ้างที่ไม่ประสบผลสำเร็จ ... -
การประเมินสมรรถนะระบบหลักประกันสุขภาพในการให้บริการผู้ป่วยโรคสมองขาดเลือด จากหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน : กรณีศึกษาโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
(สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.), 2556-12-01)โรคหลอดเลือดสมองเป็นโรคที่ก่อให้เกิดปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญโรคหนึ่งของประเทศไทย มีอัตราการเสียชีวิตเป็นลำดับที่ 3 ในปี 2550 และก่อให้เกิดความสูญเสียปีสุขภาวะ (Disability ADUSTED Life Year: DALYs) ที่สำคัญ และมีแนวโน้มการเ ... -
การพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อประสิทธิภาพกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหลังการถ่ายโอนภารกิจโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสู่องค์การบริหารส่วนจังหวัด
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-07)การพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่หลังการถ่ายโอนภารกิจโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสู่องค์การบริหารส่วนจังหวัด เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) ... -
การพัฒนานโยบายและรูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพและความปลอดภัยสำหรับสถานประกอบการ ในระบบการจ้างงานและการประกันสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)โรคไม่ติดต่อเรื้อรังจัดเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของประชากรวัยทำงาน การสร้างเสริมสุขภาพในสถานประกอบการนับเป็นช่องทางสำคัญที่จะสามารถเข้าถึงคนกลุ่มนี้ได้ จึงจำเป็นต้องหาวิธีส่งเสริมให้มากขึ้น วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ คือ ... -
การพัฒนาหลักประกันสุขภาพของประชาชนกลุ่มแรงงานนอกระบบและครอบครัว
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์คือ (1) เพื่อศึกษาสภาวการณ์สุขภาพและการดูแลสุขภาพของประชาชนกลุ่มแรงงานนอกระบบและครอบครัว (2) เพื่อค้นหาแนวทางการพัฒนาหลักประกันสุขภาพสำหรับประชาชนกลุ่มแรงงานนอกระบบและครอบครัว ผลการศึกษา พบว่า ... -
การวิเคราะห์กิจกรรมการให้บริการ และสถานการณ์ทางการเงินของสถานพยาบาลภายใต้ โครงการหลักประกันสุขภาพ ช่วงเดือนตุลาคม 2544-มีนาคม 2545
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)จากการปฏิรูประบบการคลังภายใต้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 30 บาท รักษาทุกโรค ครบทั้งประเทศ ในปีงบประมาณ 2545 ได้ส่งผลกระทบต่อสถานะการเงินและพฤติกรรมการให้บริการของสถานพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการฯ เพื่อให้ได้ภาพที่แสดงให้ ... -
การศึกษากระบวนการพัฒนานโยบายการบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพ ในรูปแบบคณะกรรมการกำหนดระบบบริหารยา เวชภัณฑ์ การเบิกจ่ายค่าตรวจวินิจฉัย และค่าบริการทางการแพทย์
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, 2557-03)การบริหารจัดการระบบประกันสุขภาพของประเทศไทยเป็นปัญหาที่ท้าทายรัฐบาลทุกสมัย เนื่องจากประเทศไทยมีกองทุนประกันสุขภาพที่หลากหลาย ได้แก่ กองทุนสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ กองทุนประกันสังคม กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ... -
การศึกษาการจัดตั้งหน่วยงานประสานงานกลางเพื่อการจัดการระบบหลักประกันสุขภาพของบุคคลที่ไม่ใช่คนไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-11)รายงานวิจัยฉบับนี้มีเป้าหมายในการศึกษาสามประการ ประการแรก เพื่อทบทวนประสบการณ์สร้างหลักประกันสุขภาพแก่แรงงานต่างด้าวในต่างประเทศและสถานการณ์การดำเนินงานหลักประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าวและบุคคลไม่ใช่คนไทยในประเทศไทย ประการที่สอง ... -
การศึกษาการบริหารจัดการ การดำเนินการของสถานพยาบาลภายใต้นโยบายการให้สิทธิ (คืนสิทธิ) ขั้นพื้นฐานด้านสาธารณสุขกับบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 23 มีนาคม 2553
(สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.), 2556-07-01)นโยบายระบบประกันสุขภาพผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ ได้รับการอนุมัติตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2553 มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ให้บุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิสามารถเข้าถึงระบบบริการสุขภาพที่จำเป็น และ (2) เพื่อแก้ปัญ ... -
การศึกษาการอุดหนุนข้ามระหว่างกองทุนสุขภาพในโรงพยาบาล : กรณีศึกษาโรงพยาบาลรัฐในประเทศไทย
(สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.), 2556-09)การจัดการด้านการคลังสุขภาพเป็นหนึ่งในองค์ประกอบพื้นฐานสำคัญของระบบสุขภาพ โดยเฉพาะระบบสุขภาพของประเทศไทย ซึ่งมีการจัดการด้านการคลังสุขภาพผ่านกองทุนสุขภาพจำนวนหลายกองทุน ดังนั้น ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการของโรงพยาบาลต่อน ... -
การศึกษาผลลัพธ์ทางคลินิก คุณภาพชีวิต และต้นทุน – ประสิทธิผลของการผ่าตัดหัวใจแบบเปิดในโครงการบริหารจัดการโรค สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-10)สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ร่วมกับกระทรวงสาธารณสุข และมหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้จัดทำโครงการ การจัดการโรคหัวใจที่ต้องได้รับการผ่าตัด ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีเป้าหมายให้ผู้ป่วยที่รอคิวผ่าตัดโรคหัวใจที่มีสิทธิในโครง ...