Now showing items 1-13 of 13

    • การประเมินผลกระทบ และผลตอบแทนทางสังคมของแอปพลิเคชันคุณลูก (KhunLook Mobile Application) 

      เกียรติอนันต์ ล้วนแก้ว; Kiatanantha Lounkaew; วไลลักษณ์ ซ่อมจันทึก; Valailak Choamjuntuk; วรกฤษณ์ นุ้ยพิน; Worakrit Nuypin; ณัฐกิตติ์ สุขสำราญ; Natthakit Suksamran; กนกพร ดวงเสาร์; Kanokpond Duangsao (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-02)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลกระทบและผลตอบแทนทางสังคมของแอปพลิเคชัน "คุณลูก" เปรียบเทียบประโยชน์ระหว่างแอปพลิเคชันกับสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก และศึกษาแนวทางการพัฒนาจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยใช้การประเมินความเต็มใจจ่าย ...
    • การพัฒนาระบบบริการระเบียนสุขภาพดิจิทัลหมอพร้อม: โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 

      สุภโชค เวชภัณฑ์เภสัช; Suppachoke Wetchaphanphesat; มานิตา พรรณวดี; Manita Phanawadee; เดือนเพ็ญ โยเฮือง; Duanpen Yohuang; รพีสุภา หวังเจริญรุ่ง; Rapeesupa Wangcharoenrung (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-10)
      รายงานการวิจัย โครงการพัฒนาระบบบริการระเบียนสุขภาพดิจิทัลหมอพร้อม : โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ฉบับนี้ เป็นการวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบโดยการต่อยอดจากระบบระเบียนสุขภาพอิเล็กทรอนิกส์ส่วนบุคคล (PHR) ต้นแบบ ขยายเป้าหมายจากพื้น ...
    • การพัฒนาระบบแพทย์ทางไกลเพื่อการดูแลรักษาผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง บทเรียนจากระบาดของโควิด-19 

      ดาราวรรณ รองเมือง; Daravan Rongmuang; อินทิรา สุขรุ่งเรือง; Intira Sukrungruang; สราพร มัทยาท; Saraporn Mattayart; อติญาณ์ ศรเกษตริน; Atiya Sarakshetrin; สุทธานันท์ กัลกะ; Suthanan Kunlaka; ภัทรพงศ์ อุดมพัฒน์; Patpong Udompat; พีระเดช สำรวมรัมย์; Pheeradetch Samroumram; เบญจพร รัชตารมย์; Benjaporn Rajataram; อนันต์ กนกศิลป์; Anant Kanoksilp (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการให้บริการแพทย์ทางไกล และระบบการจัดการยาสำหรับผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง 2) พัฒนาแอปพลิเคชันเพื่อประเมินสภาพผู้ป่วยล้าง ...
    • การพัฒนารูปแบบความร่วมมือของหลายภาคส่วน เพื่อยุติวัณโรคในเขตเทศบาลเมืองและอำเภอเมือง (ปีที่ 1) 

      จินตนา งามวิทยาพงศ์-ยาไน; Jintana Ngamvithayapong-Yanai; วรรัตน อิ่มสงวน; Worarat Imsa-nguan; เอกชัย คำลือ; Ekkachai Kumlue; เกียรติชัย สุภามณี; Kiatchai Supamanee; ฉัตรฤดี ดำรงพานิชชัย; Chatrudee Damrongpanitchai; ณัฐดนัย ใชยนต์; Natdanai Chaiyon; ดวงเดือน เนตรวงศ์; Duangduen Netewong; ทรามวัย หลวงจินา; Sarmwai Luangjina; ทัศวรรณ กันธิมา; Tassawan Kuntima; ธงชัย ตั้งจิตต์; Thongchai Tangchit; มัสลิน จันทร์ผา; Muslin Chanpa; บุญชัย ไชยาศิรินทร์โรจน์; Boonchai Chaiyasirinroje; รัชนิตย์ ราชกิจ เนตรสุวรรณ; Ratchanit Ratchakit Nedsuwan; ศุภชัย พลรัฐ; Supachai Polrat; สุรสิทธิ์ บุพชาติ; Surasit Bupachat; สุรีรัตน์ ท้าวถึง; Sureerat Thawthong; เสาวณีย์ เปลี่ยนพานิช; Sawanee Plienpanich; อมรรัตน์ วิริยะประสพโชค; Amornrat Wiriyaprasobchok (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, มูลนิธิวิจัยวัณโรคและโรคเอดส์, 2563-12)
      ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2015 องค์การอนามัยโลกรายงานต่อเนื่องทุกปีว่าประเทศไทยอยู่ในกลุ่ม 14 ประเทศที่มีปัญหาวัณโรคมาก การตีตราวัณโรค (stigma) และความยากจน เป็นอุปสรรคต่อการยุติวัณโรคและมีความจำเป็นต้องร่วมมือกับหลายภาคส่วนเพื่อยุติวัณโรค ...
    • การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนโทรศัพท์มือถือส่งเสริมการเดินทางรับบริการสุขภาพสำหรับผู้สูงวัยในชุมชนเมือง รอบโรงพยาบาลสิรินธร กรุงเทพมหานคร 

      พัสตราภรณ์ ทิพยโสธร; Pastraporn Thipayasothorn; อมรช้ย ชัยชนะ; Amornchai Chaichana; ทิพวัลย์ เรืองฤทธิ์; Thipawan Ruangrit; เอื้อมอัมพร เพชรสินจร; Aueamaumporn Phetsinchorn; ประทุม มั่นคง; Prathum Monkhong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนโทรศัพท์มือถือส่งเสริมการเดินทางรับบริการสุขภาพสำหรับผู้สูงวัยในชุมชนเมือง รอบโรงพยาบาลสิรินธร จากสถานการณ์สุขภาพสังคมสูงวัยและปัญหาการเดินทางในกลุ่มคนสูงวัยในชุมชนเมือง กรุงเทพมหานคร มีความสัมพั ...
    • การมีส่วนร่วมของอาสาสมัครสาธารณสุขและชุมชนในการป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 โดยใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ 

      จันทิมา นวะมะวัฒน์; Juntima Nawamawat; วิภาพร สิทธิสาตร์; Vipaporn Sittisart; กฤษฎา เหล็กเพชร; Krissada Lekphet; ไพศาล เธียรถาวร; Phaisan Thianthawon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-02)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) และชุมชนในการป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 โดยใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์และสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายในการปรับบทบาทของ ...
    • ข้อเสนอเชิงนโยบายในการพัฒนาศักยภาพกำลังคนด้านสุขภาพโดยใช้ปัญญาประดิษฐ์ เพื่อรับมือโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในจังหวัดนครราชสีมา 

      นิวัฒน์ชัย นามวิชัยศิริกุล; Niwatchai Namwichaisirikul; ปัทมา ทองดี; Pattama Tongdee; พรทิพย์ นิ่มขุนทด; Porntip Nimkuntod; นรา สมัตถภาพงศ์; Nara Samattapapong; สายันต์ แก่นนาคำ; Sayan Kaennakam; นฤชา ตนัยอัชฌาวุฒ; Narucha Tanaiutchawoot; คมกริช ฤทธิ์บุรี; Khomkrit Ritburi; วราภรณ์ เริงฤทธิ์; Waraporn Rernglit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-07)
      ด้วยปัญหาการดูแลผู้ป่วยกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง non-communicable diseases ; NCDs ที่พบว่าผู้ป่วยมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น มีภาวะแทรกซ้อนมากขึ้นและโรคมีความซับซ้อนมากขึ้น รวมทั้งประเทศใช้งบประมาณในการดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้มากขึ ...
    • ต้นแบบการใช้แอปพลิเคชันคุณลูกเพื่อส่งเสริมสุขภาพเด็กที่คลินิกสุขภาพเด็กดี 

      รสวันต์ อารีมิตร; Rosawan Areemit; สุชาอร แสงนิพันธ์กูล; Suchaorn Saengnipanthkul; ผกากรอง ลุมพิกานนท์; Pagakrong Lumbiganon; สุมิตร สุตรา; Sumitr Sutra; กุลวดี ศรีพานิชกุลชัย; Kunwadee Sripanidkulchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      เด็กและวัยรุ่นเป็นวัยสำคัญที่สมองและร่างกายมีการเจริญเติบโตและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จากสถานการณ์ด้านพัฒนาการของเด็กไทยช่วงวัย 0-5 ปี พบว่า มีเด็กที่สงสัยว่าพัฒนาการล่าช้าถึงร้อยละ 26 ส่วนเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นที่มีภาวะสูงด ...
    • ระบบเฝ้าระวังอัตโนมัติในการประเมิน ติดตาม ป้องกัน และแสดงแนวทางการบริหารจัดการเมื่อเกิดภาวะการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อจากการรั่วของยาหรือสารน้ำในระหว่างการให้ยาหรือสารน้ำชนิดยานอร์ริพิเอฟฟรินจากภาพถ่ายผิวหนังโดยใช้โครงข่ายประสาทเทียมเชิงลึกในรูปแบบแอปพลิเคชันบนสมาร์ตโฟน 

      จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต; Charturong Tantibundhit; ฐิติพร ปฐมจารุวัฒน์; Thitiporn Pathomjaruwat; บวรลักษณ์ ทองทวี; Borwarnluck Thongthawee; พัดชา พงษ์เจริญ; Padcha Pongcharoen; ดุษฎี สกลยา; Dudsadi Sakonlaya; ปรารถนา สิทธิวัฒนาวงศ์; Pradtana Sitthiwatthanawong; สินี เวศย์ชวลิต; Sinee Wetchawalit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      การบาดเจ็บของเนื้อเยื่อจากการรั่วของยา คือ ภาวะที่ยาที่มีฤทธิ์ในการทำลายเนื้อเยื่อรั่วซึมออกนอกหลอดเลือดในระหว่างการให้ยาทางหลอดเลือดดำ ส่งผลอันตรายต่อเนื้อเยื่อบริเวณโดยรอบที่ให้ยาทางหลอดเลือดดำ และอาจลุกลามถึงเส้นประสาท ...
    • ระบบและแพลตฟอร์มเพื่อการทดสอบทางการแพทย์ ณ จุดดูแลผู้ป่วย (POCT) ที่ทำงานร่วมกับสมาร์ทโฟน 

      พิสิฐ ตั้งกิจวานิชย์; Pisit Tangkijvanich (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-07)
      การตรวจคัดกรองและการวินิจฉัยโรคด้วยความรวดเร็ว เพื่อบ่งชี้ถึงข้อมูลสุขภาพนั้นเป็นพื้นฐานสำคัญอย่างมากในระบบสาธารณสุข ในปัจจุบัน หน่วยงานและอุปกรณ์ที่มีความพร้อมทางด้านการตรวจวิเคราะห์และวินิจฉัยในประเทศไทยยังมีปริมาณไม่เ ...
    • แพลตฟอร์มแอปพลิเคชันคุณลูกสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสุขภาพ 

      กุลวดี ศรีพานิชกุลชัย; Kunwadee Sripanidkulchai; รสวันต์ อารีมิตร; Rosawan Areemit; สมัย ศิริทองถาวร; Samai Sirithongthaworn; สุชาอร แสงนิพันธ์กูล; Suchaorn Saengnipanthkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      เด็กและวัยรุ่นเป็นวัยสำคัญที่สมองและร่างกายของเด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สถานการณ์พัฒนาการของเด็กไทยวัย 0-5 ปี ยังพบว่า ปัญหาพัฒนาการล่าช้ายังเป็นปัญหาสำคัญ ซึ่งหากเด็กและวัยรุ่นได้รับการเลี้ยงดูและสร้างเ ...
    • แอปพลิเคชันบนอุปกรณ์พกพาเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการเด็กไทย ปีที่ 2 

      รสวันต์ อารีมิตร; กุลวดี ศรีพานิชกุลชัย; ชาญยุทธ์ ศุภคุณภิญโญ; อรุณี เจตศรีสุภาพ; ผกากรอง ลุมพิกานนท์; สุมิตร สุตรา; ภัทรรัตน์ สงทุ่ง; ธีรพงศ์ ขัตติยะวงศ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      เด็กเป็นวัยสำคัญที่สมองและร่างกายมีการเจริญเติบโตและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง หากได้รับการเลี้ยงดูอย่างเหมาะสมจะส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการเต็มศักยภาพ การเลี้ยงดูและการส่งเสริมพัฒนาการรวมทั้งการได้รับการกำกับดูแลสุขภาพอย่างถูก ...
    • โปรแกรมประยุกต์สำหรับการยืนทำงานเพื่อความปลอดภัย 

      ปวีณา มีประดิษฐ์; Parvena Meepradit; โกเมศ อัมพวัน; Komate Amphawan; พิจิตรา ปฏิพัตร; Pichitra Patipat; ทิพรัตน์ นาคมอญ; Pichitra Patipat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-04)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโปรแกรมประยุกต์สำหรับการยืนทำงานเพื่อความปลอดภัย รูปแบบของการศึกษาแบ่งเป็น 3 ขั้นตอน คือ การกำหนดมาตรการในการยืนทำงานอย่างปลอดภัย การสร้างโปรแกรมประยุกต์สำหรับการยืนทำงานเพื่อความป ...