Research Reports: ชิ้นงานเข้าใหม่
แสดงรายการ 181-200 จาก 2466
-
สิทธิประโยชน์ สวัสดิการ และความก้าวหน้าของบุคลากรโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-10)งานวิจัยนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสานวิธี มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสิทธิประโยชน์สวัสดิการและความก้าวหน้าของบุคลากรโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) 2) ศึกษาปัญหา อุปสรรค ... -
ประสิทธิศักย์และความปลอดภัยของการใช้ยาแคปซูลฟ้าทะลายโจรเปรียบเทียบกับยาบรรเทาอาการมาตรฐานในผู้ติดเชื้อโควิด-19 ที่ไม่มีอาการหรือมีอาการน้อย (ยังไม่มีปอดอักเสบแรกรับ) : การทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)ผู้ป่วยโรคโควิด-19 ที่ไม่มีอาการหรือมีอาการน้อย ซึ่งได้รับการยืนยันผลการติดเชื้อ Severe Acute Respiratory Syndrome Coronavirus-2 (SARS-CoV-2) ด้วยวิธี Reverse Transcription Polymerase Chain Reaction (RT-PCR) ภายใน 72 ชั่วโมง ... -
การศึกษาพัฒนารูปแบบระบบสุขภาพชุมชนที่เหมาะสมในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสุขภาพและภัยสุขภาพผู้ป่วยโรคโควิด-19 และโรคอุบัติใหม่ในระบบแยกกักตัวที่บ้านและชุมชน: กรณีพื้นที่กรุงเทพมหานคร
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-01)การศึกษาพัฒนารูปแบบระบบสุขภาพชุมชนที่เหมาะสมในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสุขภาพและภัยสุขภาพผู้ป่วยโรคโควิด-19 และโรคอุบัติใหม่ในระบบแยกกักตัวที่บ้านและชุมชน: กรณีพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาพัฒนากล ... -
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของสายสวนสลายพังผืดในช่องเหนือไขสันหลังในผู้ป่วยที่มีภาวะปวดไม่หายขาดหลังผ่าตัดกระดูกสันหลังส่วนเอวและโรคช่องประสาทไขสันหลังตีบแคบ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-10)ในปัจจุบันหัตถการการใช้สายสวนสลายพังผืด (Percutaneous Epidural Adhesiolysis, PEA) เป็นการรักษาทางเลือกของอาการปวดในกรณีที่ผู้ป่วยโรคช่องประสาทไขสันหลังตีบแคบและผู้ป่วยที่มีภาวะปวดไม่หายขาดหลังผ่าตัดกระดูกสันหลังส่วนเอวที ... -
การประเมินความคุ้มค่าของ Medial Branch Radiofrequency Ablation สำหรับโรคปวดหลังส่วนล่างเรื้อรังจาก Facet Joints
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)โครงการวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของประเทศไทย ซึ่งการจี้เส้นประสาทด้วยคลื่นวิทยุความถี่สูง (radiofrequency ablation, RFA) สำหรับผู้ป่วยปวดหลังส่วนล่างเรื้อรัง ... -
การศึกษาสถานะการขึ้นทะเบียนยาสามัญใหม่และศักยภาพในการลดค่าใช้จ่ายด้านยาหลังจากได้รับการอนุมัติการศึกษาชีวสมมูลโดยสำนักพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12-19)การศึกษาชีวสมมูล (Bioequivalence Studies) ในมนุษย์เป็นการทดสอบความเท่าเทียมกันระหว่าง ยาสามัญและยาอ้างอิงในด้านอัตราและปริมาณของ Active Pharmaceutical Ingredient (API) ในบริเวณที่ต้องการให้เกิดฤทธิ์ของยา การศึกษาเช่นนี้ท ... -
การประเมินต้นทุนอรรถประโยชน์และการวิเคราะห์ผลกระทบด้านงบประมาณของเทคโนโลยี Next Generation Sequencing (NGS) ในผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงเฉียบพลันโดยไม่ทราบสาเหตุ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)โรคทางพันธุกรรมเป็นหนึ่งในสาเหตุลำดับต้นๆ ของการเสียชีวิตและทุพพลภาพในผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงเฉียบพลัน ซึ่งจำเป็นต้องรับไว้รักษาในโรงพยาบาลหรือหอผู้ป่วยวิกฤต การตรวจวินิจฉัยด้วยวิธีมาตรฐานอาจไม่สามารถแยกโรคได้หรืออาจใช้เ ... -
การประเมินความคุ้มค่าของการตรวจวิเคราะห์รหัสพันธุกรรมในผู้ป่วยเด็กโรคลมชักที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-08)บทนำ : โรคลมชักที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาในเด็กเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในประเทศไทย โดยสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการผิดปกติทางพันธุกรรม ปัจจุบันมีการนำการตรวจรหัสพันธุกรรม Exome Sequencing (ES) มาช่วยในการวินิจฉัยผู้ป่วยเด็กโร ... -
การออกแบบระบบบริการด้านยาและเวชภัณฑ์สำหรับผู้ป่วยมารับยาที่ร้านยาแผนปัจจุบันประเภท 1 ในพื้นที่อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-11)โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบระบบบริการด้านยาสำหรับโครงการผู้ป่วยรับยาที่ร้านยาใกล้บ้านตามรูปแบบที่ 3 ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในโครงการช่วยลดความแออัดในโรงพยาบาล โดยมุ่งเน้ ... -
รูปแบบการเสริมสร้างพลังชุมชนเพื่อป้องกันการระบาดใหม่ของโรคโควิค-19 ในพื้นที่ชายแดนภาคตะวันตกของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566)การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างพลังชุมชนเพื่อป้องกันการระบาดใหม่ของโรคโควิด-19 ในพื้นที่ชายแดนภาคตะวันตกของประเทศไทย โดยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) โดยมีการผสมผสานวิธีวิจัยทั้ง ... -
โทรจิต การพัฒนาชุดแบบทดสอบประสาทจิตวิทยาทางไกลอิงเสียงพูดและภาษาแบบอัตโนมัติ ด้วยการเรียนรู้ของเครื่องสำหรับจำแนกผู้สูงอายุที่มีภาวะปริชานบกพร่องเล็กน้อยในชุมชนภาคตะวันออก
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-07-31)การเพิ่มขึ้นของประชากรผู้สูงอายุและระบบสาธารณสุขปัจจุบันทำให้ประชาชนโดยทั่วไปอายุยืนยาวขึ้น เช่นเดียวกับจำนวนผู้ป่วยภาวะสมองเสื่อมที่เพิ่มสูงขึ้นตามไปด้วย แต่แนวทางที่ได้รับความสนใจในปัจจุบัน คือ การคัดกรองตั้งแต่อยู่ในช ... -
การเสริมสร้างคุณภาพชีวิตอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เขตสุขภาพที่ 8 เพื่อสนับสนุนการจัดบริการปฐมภูมิ ภายใต้สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-04)การศึกษาการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เขตสุขภาพที่ 8 เพื่อสนับสนุนการจัดบริการปฐมภูมิ ภายใต้สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน เก็บข้อมูลเชิงสำรวจ ... -
ประสิทธิศักย์และความปลอดภัยของสารสกัดฟ้าทะลายโจร เทียบกับการรักษามาตรฐานในการป้องกันการเกิดปอดอักเสบ ในผู้ติดเชื้อโควิด-19 ที่ไม่มีอาการหรือมีอาการน้อย : การทดลองแบบสุ่ม มีกลุ่มควบคุมและหลายสถานที่วิจัย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)การดูแลรักษาโรคผู้ป่วยโควิค-19 มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เนื่องจากมีความจำกัดของทรัพยากรและความรู้ ในช่วงแรกของการระบาด หนึ่งในทางเลือกของกระบวนการรักษาผู้ป่วย คือ ความพยายามรักษาอาการและลดจำนวนเชื้อ เพื่อไม่ให้เกิดความรุ ... -
บทบาทของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ ภายหลังการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปองค์การบริหารส่วนจังหวัด
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)การถ่ายโอนภารกิจของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) ส่งผลกระทบต่อบทบาทหน้าที่ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) และสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ (สสอ.) การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพ ... -
ผลของเภสัชพันธุศาสตร์ต่อระดับยาและผลข้างเคียงของยาต้านไวรัสเอชไอวีตัวใหม่ ในผู้ใหญ่ที่ติดเชื้อไวรัสเอชไอวี-1
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)ถึงแม้ประเทศไทยจะจัดการปัญหาเอชไอวีได้ดี และมียาต้านอยู่ใน Universal Access Program ตั้งแต่ปี 2008 มีการเริ่มยาต้าน Any CD4 count ตั้งแต่ปี 2014 และ same day ART (antiretroviral therapy, ART)/rapid ART ตั้งแต่ปี 2022 ... -
การพัฒนาตัวแบบระบบสุขภาพปฐมภูมิขององค์การบริหารส่วนจังหวัด กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนจังหวัดระยอง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-11)วรรณกรรมและงานวิจัยเกี่ยวกับการกระจายอำนาจได้ส่งสัญญาณเตือนว่า การกระจายอำนาจที่ไม่ได้พิจารณาบริบทเฉพาะของแต่ละประเทศจะก่อให้เกิดโทษมากกว่าประโยชน์ ดังนั้น การออกแบบแนวทางการกระจายอำนาจให้สอดคล้องกับบริบทความจำเป็นของแต่ ... -
การใช้ประโยชน์จากระบบสิทธิบัตรในการต่อยอดวิจัยและพัฒนายาใหม่และการขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-11)การวิจัยเชิงคุณภาพนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์ความเชื่อมโยงของการขึ้นทะเบียนตำรับยาและการขอรับสิทธิบัตรยา และ 2) วิเคราะห์ความละเอียดของเนื้อหาในคำขอรับสิทธิบัตรที่จะเป็นประโยชน์ในการต่อยอดการวิจัยและพัฒนายาของอุ ... -
เครือข่ายวิจัยความร่วมมือในการรักษาด้วยยาเพื่อประเทศไทยใช้ยาอย่างสมเหตุผล
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)บทนำ : โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (Non-Communicable Diseases, NCDs) เป็นสาเหตุการป่วยและการตายที่สำคัญของประชากรทั่วโลกและประชากรไทย การรักษาในปัจจุบันผู้ป่วยส่วนใหญ่เกินครึ่งต้องกินยาตามคำสั่งการรักษาของแพทย์ เพื่อควบคุมอาการ ... -
การขยายผลการใช้งานต้นแบบเต็นท์ความดันลบสำหรับแยกผู้ป่วย เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางเดินหายใจในสถานการณ์โรคระบาดโควิด-19
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)จากที่คณะวิจัยได้มีการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเต็นท์ความดันลบสำหรับแยกผู้ป่วยติดเชื้อ (Patient Isolation Chamber for Home & Community Isolation) หรือ “ไฮพีท HI PETE” ขึ้นมาในช่วงสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ... -
การเพิ่มความรับผิดชอบและประสิทธิภาพของระบบการกำกับการกินยารักษาวัณโรคโดยใช้แอปพลิเคชั่นมือถือ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-10)การติดตามการกินยาของผู้ป่วยวัณโรคด้วยการมีพี่เลี้ยงดูแลการกินยาต่อหน้า (Directly Observed Therapy, DOT) ไม่สามารถติดตามการกินยาของผู้ป่วยได้อย่างยั่งยืน เนื่องจากไม่มีระบบจัดการที่เหมาะสม รวมทั้งไม่มีระบบกำกับภาระหน้าที่ ...