แสดงรายการ 321-340 จาก 2379

    • บทบาทของเครือข่ายในระบบบริการปฐมภูมิในการคัดกรองและเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงโควิด 19 ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประเทศไทย 

      วิไล อุดมพิทยาสรรพ์; Wilai Udompittayason; ปรียนุช ชัยกองเกียรติ; Preeyanuch Chaikongkiat; ดวงใจ เปลี่ยนบำรุง; Doungjai Plianbumroong; อัจฉรา มุสิกวัณณ์; Atchara Musigawan; ผุสนีย์ แก้วมณีย์; Pootsanee Kaewmanee; เขมพัทธ์ ขจรกิตติยา; Khemmapat Kajonkittiya; พิชญ์ชญานิษฐ์ เรืองเริงกุลฤทธิ์; Pichayanit Ruangroengkulrit; นุศรา ดาวโรจน์; Nutsara Dowrote; อนุชิต คลังมั่น; Anuchit Klangman; คอลิด ครุนันท์; Kholid Karunan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      การวิจัยนี้เป็นการศึกษาวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed methods) โดยการเก็บข้อมูลการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ในพื้นที่จังหวัดยะลา ปัตตานี และนราธิวาส จังหวัดละ 2 อำเภอ รวม 6 อำเภอ วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาบทบาทของเครือข่ายในระบบ ...
    • การศึกษาปัจจัยเสี่ยงช่วงตั้งครรภ์และช่วงขวบปีแรก กับการเกิดเมตาบอลิกซินโดรมและโรคหลอดเลือด เมื่ออายุ 30 ปี 

      กิตติพันธุ์ ฤกษ์เกษม; Kittipan Rerkasem; ปิยะมิตร ศรีธรา; Piyamitr Sritara; อัมพิกา มังคละพฤกษ์; Ampica Mangklabruks; ศักดา พรึงลำภู; Sakda Pruenglampoo; อมราภรณ์ ฤกษ์เกษม; Amaraporn Rerkasem; กรองพร องค์ประเสริฐ; Krongporn Ongprasert; สุชยา ลือวรรณ; Suchaya Luewan; กนกวรรณ กุลประชากานต์; Kanokwan Kulprachakarn; วสันต์ ภาคลักษณ์; Wason Parklak; ศศิณัฏฐ์ พงษ์ธรรม; Sasinat Pongtam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบุตรที่มีน้ำหนักแรกคลอดน้อยกับกลุ่มอาการเมตาบอลิกซินโดรมของบุตรที่ได้ศึกษาน้ำหนักแรกเกิดเมื่อ 30 ปีที่แล้ว ทั้งนี้ยังทำการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างน้ำหนักเพิ่มขึ้นอย่า ...
    • ระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุโรคเบาหวานภายหลังการระบาดของโรคติดเชื้ออุบัติใหม่ไวรัสโควิด–19 ของหน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในเขตภาคใต้ 

      รัถยานภิศ รัชตะวรรณ; Ratthayanaphit Ratchathawan; เบญจวรรณ ถนอมชยธวัช; Benjawan Thanormchayatawat; บุญประจักษ์ จันทร์วิน; Boonprajuk Junwin; วัลลภา ดิษสระ; Wanlapa Dissara; นรานุช ขะระเขื่อน; Naranuch Karakhuean; วรรณรัตน์ จงเขตกิจ; Wannarat Jongkhetkit; สมฤดี อรุณจิตร; Somrudee Arunjit; ปิยะพร พรหมแก้ว; Piyaporn Promkaew; ดาลิมา สำแดงสาร; Dalima Samdaengsarn; วรนิภา กรุงแก้ว; Waranipa Krungkaew; ศิริวรรณ ชูกำเนิด; Siriwan Chukumnird; รุ่งนภา จันทรา; Rungnapa Chantra; บุบผา รักษานาม; Buppha Raksanam; จิราภรณ์ ชูวงศ์; Jiraporn Choowong; จงกรม ทองจันทร์; Jongkrom Thongjan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      สถานการณ์การระบาดของโรค COVID-19 ส่งผลกระทบต่อระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเบาหวานในมิติสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคตลอดจนการดูแลต่อเนื่อง การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสถานการณ์และผลลัพธ์ของระบบการดูแลผู้สูงอาย ...
    • แพลตฟอร์มกลางสำหรับการสร้างเครื่องมือบำบัดทางจิตวิทยาด้วยปัญญาประดิษฐ์ 

      กลกรณ์ วงศ์ภาติกะเสรี; Konlakorn Wongpatikaseree (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      ปัญหาสุขภาพจิตส่งผลต่อการดำเนินชีวิตและคุณภาพชีวิตของผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตและคนใกล้ตัว แม้การดูแลสุขภาพจิตจะมีความสำคัญแต่ก็มีข้อจำกัด เช่น ค่าใช้จ่ายสูง และจำนวนบุคลากรด้านสุขภาพจิตไม่เพียงพอ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องพั ...
    • ผลกระทบและการปรับตัวในสถานการณ์แพร่ระบาดของโควิด-19 กรณีทัณฑสถานและชุมชนในกรุงเทพมหานคร 

      นพวรรณ เปียซื่อ; Noppawan Piaseu; ธิราภรณ์ จันทร์ดา; Tiraporn Junda; วรรณา สนองเดช; Wanna Sanongdej; ผจงจิต ไกรถาวร; Phachongchit Kraithaworn; สุกัญญา ตันติประสพลาภ; Sukanya Tantiprasoplap; สุวัจนา น้อยแนม; Suwatjana Noinam; จันทรา แก้วภักดี; Jantra Keawpugdee; เสาวรส คงชีพ; Saowaros Kongcheep; สุพรรณนา ครองแถว; Suphanna Krongthaeo; รุ่งอรุณ เกศวหงส์; Rungarun Gaesawahong; วาสนา ศรีสุข; Wassana Srisuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-04)
      การศึกษาเชิงคุณภาพแบบบรรยายครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินผลกระทบและกลไกการปรับตัวของทัณฑสถานและชุมชนในกรุงเทพมหานคร ในสถานการณ์ระบาดของโควิด-19 รวมถึงหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง 2) สังเคราะห์บทเรียนที่จำเป็นต่อการปร ...
    • นำร่องการวิจัยสำหรับจีโนมิกส์ประเทศไทย: การศึกษาข้อมูลรหัสพันธุกรรมของผู้ป่วยมะเร็งชาวไทย 

      มานพ พิทักษ์ภากร; Manop Pithukpakorn; ชนพ ช่วงโชติ; Shanop Shuangshoti; ชินโชติ ธีรภัคภิญโญ; Chinachote Teerapakpinyo; นุสรา สัตย์เพริศพราย; Nusara Satproedprai; วสันต์ จันทราทิตย์; Wasun Chantratita; จันทนา ผลประเสริฐ; Chantana Polprasert (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของประชากรไทย โดยมะเร็งเกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรมของเซลล์ การกลายพันธุ์ของยีนก่อมะเร็งที่พบสามารถแบ่งได้เป็น 2 ชนิด อันได้แก่ การกลายพันธุ์ที่เกิดขึ้นเองในเนื้อเยื่อปกติ (somatic ...
    • การทำนายผลการรักษาด้วยยาเคมีบำบัดโดยใช้การวิเคราะห์ระดับทรานสคริปโตมิกส์และโปรตีโอมิกส์ในผู้ป่วยมะเร็งปอด 

      ปฤษณา เรืองรัตน์; Pritsana Raungrut; ปารมี ทองสุกใส; Paramee Thongsuksai; ณรงค์วิทย์ นาขวัญ; Narongwit Nakwan; ฑิตยา บุญส่ง; Thitaya Bunsong; ทิดารัตน์ รักเลิศ; Thidarat Ruklert (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-04)
      มะเร็งปอดชนิดอะดีโนคาร์ซิโนมามีอุบัติการณ์การเกิดและการตายสูงเป็นลำดับต้นๆ ของประชากรโลก ยาเคมีบำบัดยังคงเป็นส่วนสำคัญในการรักษา แต่อย่างไรก็ตามอัตราการตอบสนองต่อการรักษาก็ยังต่ำ การศึกษาในครั้งนี้จึงมุ่งเน้นไปที่ค้นหาโป ...
    • การพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายในการสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อชะลอไตเสื่อมในผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเขตสุขภาพที่ 4 

      ปัฐยาวัชร ปรากฎผล; Padthayawad Pragodpol; อรุณี ไชยฤทธิ์; Arunee Chaiyarit; อุทัยทิพย์ จันทร์เพ็ญ; Uthaitip Chanpen; กนกพร เทียนคำศรี; Kanokporn Thiankumsri; ขนิษฐา แสงทอง; Khanittha Sangthong; วงศ์ทิพารัตน์ มัณยานนท์; Wongtiparrat Manyanon; ชาญณรงค์ รุจิระชาติกุล; Channarong Ruchirachatkool (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)
      การวิจัยเรื่องการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายในการสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อชะลอไตเสื่อมในผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเขตสุขภาพที่ 4 เป็นการวิจัยเพื่อพัฒนา (Research & Development) ในรูปแบบการวิจัยแบบผสมผสาน ...
    • การพัฒนาแนวทางและรูปแบบความร่วมมือที่เหมาะสม ระหว่าง ภาคชุมชน ภาครัฐ และภาคเอกชน ในการบริหารจัดการและการดูแลสุขภาพระดับปฐมภูมิ 

      วณิชา ชื่นกองแก้ว; Wanicha Chuenkongkaew; อภิสิทธิ์ ธำรงวรางกูร; Apisit Thamrongwaranggoon; วิชัย อัศวภาคย์; Wichai Ussavaphark; ดุสิตา กระวานชิด; Dusita Krawanchid; มนัสชนน์ คุณาพรสุจริต; Manuschon Kunapornsujarit; ธนวันต์ กัญญภัส; Tanawan Kanyapas (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      การวิจัยเรื่อง การพัฒนาแนวทางและรูปแบบความร่วมมือที่เหมาะสม ระหว่าง ภาคชุมชน ภาครัฐ และภาคเอกชน ในการบริหารจัดการและการดูแลสุขภาพระดับปฐมภูมิ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวทางและรูปแบบความร่วมมือที่เหมาะสม ระหว่างภาคชุมชน ...
    • การบริหารจัดการเวชภัณฑ์กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019: ปัญหา อุปสรรคในการจัดซื้อของภาครัฐ ภาคเอกชน และแนวทางแก้ไข 

      รัตพงษ์ สอนสุภาพ; Rattaphong Sonsuphap; สิตานนท์ เจษฎาพิพัฒน์; Sitanon Jesdapipat; อิสรีย์ ภักดิ์ศรีแพง; Itsaree Phaksipaeng (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      การวิจัยเรื่อง การบริหารจัดการเวชภัณฑ์กรณีโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 : ปัญหา อุปสรรคในการจัดซื้อของภาครัฐ ภาคเอกชน และแนวทางแก้ไข มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการจัดหาเวชภัณฑ์เกี่ยวกับโรค COVID-19 ได้แก่ วัคซีน ...
    • การพัฒนาเครื่องมือการประเมินสมรรถนะการดูแลการใช้ยาต้านจุลชีพของนักเรียนแพทย์ เภสัชกร และสัตวแพทย์ก่อนสำเร็จการศึกษาในประเทศไทย 

      Rungpetch Sakulbumrungsil; Nusaraporn Kessomboon; Inthira Kanchanaphibool; Khunjira Udomaksorn; Sitanan Poonpolsub; Wirumporn Watcharapinchai; Manthana Laichapit; Chosita Lapchaicharoenkit; Nutcha Umtade; Sujittra Khontiyachai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2021-11-30)
      Antimicrobial stewardship is an essential competency for all health care professions. Antimicrobial stewardship has incorporated managerial aspects as well as knowledge, awareness, and practice of antimicrobial use and ...
    • การพัฒนาสมรรถนะที่จำเป็นของพยาบาลวิชาชีพในภาวะที่มีการระบาดหรือภายหลังการระบาดของโรค COVID-19: กรณีศึกษา จังหวัดสงขลา 

      ศิริวรรณ ชูกำเนิด; Siriwan Chukumnird; ศักรินทร์ สุวรรณเวหา; Sakkarin Suwanwaha; จารุณี วาระหัส; Jarunee Warahut; อภิสิทธิ์ เชื้อคำเพ็ง; Apisit Chuakompeng; ผาณิต หลีเจริญ; Phanit Leecharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาสมรรถนะที่จำเป็นของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลผู้ป่วยโรคติดต่ออุบัติใหม่ COVID-19 และพัฒนารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลผู้ป่วยโรคติดต่ออุบัติใหม่ COVID-19 ...
    • การศึกษาความชุกของวัณโรคดื้อยาในเด็กไทยและเภสัชจลนศาสตร์และความปลอดภัยของยาลีโวฟอกซาซินในการรักษาวัณโรคในเด็ก 

      วรรษมน จันทรเบญจกุล; Watsamon Jantarabenjakul; ทวิติยา สุจริตรักษ์; Tavitiya Sudjaritruk; ปิยรัชต์ สันตะรัตติวงศ์; Piyarat Santarattiwong; ธันยวีร์ ภูธนกิจ; Thanyawee Puthanakit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)
      แผนงานวัณโรคดื้อยาในเด็ก ประกอบไปด้วย 2 โครงการ คือ โครงการความชุกของวัณโรคดื้อยาในเด็กไทย และโครงการเภสัชจลนศาสตร์และความปลอดภัยของยาลีโวฟอกซาซินในการรักษาวัณโรคในเด็ก ซึ่งดำเนินงานใน 3 สถาบัน (โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ...
    • การสังเคราะห์ข้อเสนอและออกแบบเชิงนโยบายการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้องค์การบริหารส่วนจังหวัด 

      ธัชเฉลิม สุทธิพงษ์ประชา; Tatchalerm Sudhipongpracha; วิทยา โชคเศรษฐกิจ; Wittaya Choksettakij; ภัควัฒน์ ภูริพงศ์ธนวัต; Pakawat Phuripongthanawat; อุกฤษณ์ กฤตยโสภณ; Ukkrit Kittayasophon; ณฐนภ ศรัทธาธรรม; Nathanop Satthatham; เยาววัลยา อ่อนโพธิ์ทอง; Yaowawanya Onphothong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)
      แม้ประเทศไทยจะประกาศใช้พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาเป็นระยะเวลา 22 ปีแล้ว แต่รัฐบาลก็ยังประสบปัญหาความล่าช้าในการถ่ายโอนภารกิจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ...
    • เส้นทางการเจ็บป่วยของโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ความรอบรู้ทางสุขภาพ และกลยุทธ์การสื่อสารในการต่อสู้กับโรคเบาหวาน 

      พนม คลี่ฉายา; Phnom Kleechaya; ภีรกาญจน์ ไค่นุ่นนา; Phirakan Kai-nunna; อรุโณทัย วรรณถาวร; Arunothai Wannataworn; กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์; Kanniga Panyaamornwat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเส้นทางการเจ็บป่วย ความรอบรู้ทางสุขภาพ การดำเนินงานในการต่อสู้กับโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และการพัฒนากลยุทธ์การสื่อสารเพื่อต่อสู้กับโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โดยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี ประกอบด้วย 1) ...
    • การประเมินผลการจัด Acute Respiratory Infection (ARI) Clinics เพื่อการดำเนินงานตรวจรักษาและควบคุมโรคโควิด-19 โรงพยาบาลรามาธิบดี 

      บัวหลวง สำแดงฤทธิ์; Bualuang Sumdaengrit; สุชิรา ชัยวิบูลย์ธรรม; Suchira Chaiviboontham; อภิญญา ศิริพิทยาคุณกิจ; Apinya Siripitayakunkit; นพวรรณ พินิจขจรเดช; Noppawan Phinitkhajorndech; ซู้หงษ์ ดีเสมอ; Suhong Deesamer; แสงเดือน ปิยะตระกูล; Sangduen Piyatrakul; จุฑามาศ เทียนสอาด; Juthamas Tiansaard; นิภาพร บุตรสิงห์; Nipaporn Butsing; อรวรรณ วราภาพงษ์; Orawan Warapapong; อุษา ใจหนัก; Usa Jainuk; นพมาศ มณีโชติ; Noppamas Maneechote; กาญจนา รัตนะราช; Kanjana Rattanarat; รุ่งธิวา กันทะวัน; Rungthiwa Kantawan; เสาวรส พาณิชย์วิสัย; Saowaros Panichvisai; รวี อยู่สำราญ; Rawee Yoosamran; นพกาญจน์ วรรณการโสกณ; Noppakan Wannakansophon; สุภาภรณ์ จันทร์ไทย; Supaporn Chanthai; สรวดี ยอดบุตร์; Sarawadee Yodbute; จิตติมา นุริตานนท์; Jittima Nuritanon; กาญจนา ปานนอก; Kanchana Pannok (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-04)
      การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบบรรยาย (Descriptive qualitative research design) โดยใช้วิธีการวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยใช้ CIPP Model เป็นกรอบแนวคิดในการวิจัย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ประเมินโครงสร้างของระบบการจัดการ ...
    • การตั้งและพัฒนาระบบการตรวจลำดับสารพันธุกรรมให้แก่ผู้ป่วยโรคพันธุกรรม โรคหายากและพิการ 

      วรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์; Vorasuk Shotelersuk; กัญญา ศุภปีติพร; Kanya Suphapeetiporn; ประสิทธิ์ เผ่าทองคำ; Prasit Phowthongkum; ฑัณฑริรา พรทวีทัศน์; Thantrira Porntaveetus; ชูพงศ์ อิทธิวุฒิ; Chupong Ittiwut; รุ่งนภา อิทธิวุฒิ; Rungnapa Ittiwut; จุรีรัตน์ โพธิ์แก้ว; Chureerat Phokaew; นรินทร์ อินทรักษ์; Narin Intarak; ศิรประภา ทองกอบเพชร; Siraprapa Tongkobpetch; เฉลิมพล ศรีจอมทอง; Chalurmpon Srichomthong; อัจจิมา อัศวพิทักษ์สกุล; Adjima Assawapitaksakul; อาญญฬิฎา บัวสงค์; Aayalida Buasong; วรรณนา เชฎฐ์เรืองชัย; Wanna Chetruengchai; ธนากร ธีรภานนท์; Thanakorn Theerapanon; กรรณธ์ญาณัฐษ์ ทวีรัชธรรม; Kanyanut Thaweerachathum; ฐิติยา วรรณไสย; Thitiya Wannasai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)
      โรคหายากพบในประชากรมากกว่า 350 ล้านคนทั่วโลก และมากกว่า 80 เปอร์เซ็นต์ของโรคเกิดจากสาเหตุทางพันธุกรรม โรคหายากจำนวนมากเป็นโรคที่มีความรุนแรงและทำให้เกิดความพิการแต่แรกเกิด การวินิจฉัยโรคหายากมีความซับซ้อนสูงมาก ...
    • การศึกษาและพัฒนาชุดอุปกรณ์ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางอากาศแบบเคลื่อนย้ายได้ 

      ศราวุธ เลิศพลังสันติ; Sarawut Lerspalungsanti; พรพิพัฒน์ อยู่สา; Pornpipat Yoosa; ฉัตรชัย ศรีสุรางค์กุล; Chadchai Srisurangkul; ประสิทธิ์ วัฒนวงศ์สกุล; Prasit Wattanawongsakun; ธีระพงษ์ บุญมา; Teerapong Boonma; ณรงค์ฤทธิ์ สืบนันตา; Narongrit Suebnunta; พีรกิตติ์ วิริยะรัตนศักดิ์; Perakit Viriyarattanasak; ฝอยฝน ศรีสวัสดิ์; Foifon Srisawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      ในสภาวะปกติใหม่ ชุดอุปกรณ์ที่สามารถช่วยป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางอากาศแบบเคลื่อนย้ายได้ (mobile Isolation precaution unit) เป็นหนึ่งในอุปกรณ์สำคัญที่จะช่วยลดความเสี่ยงต่อการแพร่กระจายของเชื้อทางอากาศ เช่น โควิด-19 ...
    • ความเต็มใจยอมรับและความเต็มใจที่จะจ่ายเงินการได้รับการฉีดวัคซีนกระตุ้นซ้ำป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 

      นภชา สิงห์วีรธรรม; Noppcha Singweratham; เพ็ญนภา ศรีหริ่ง; Pennapa Sriring; อรนุช ทองจันดี; Oranuch Thongchundee; วุฒิกุล ธนากาญจนภักดี; Wuttikul Thanakanjanaphakdee; อัจฉรา คำมะทิตย์; Adchara Khammathit; กิตติพร เนาว์สุวรรณ; Kittiporn Nawsuwan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02-28)
      การวิจัยเรื่องความเต็มใจยอมรับและความเต็มใจที่จะจ่ายเงินต่อการฉีดวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และประเมินตัวทำนายผลลัพธ์ในประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความชุกของความต้องการรับวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ...
    • การวิจัยเพื่อหาระยะเวลาที่เหมาะสมในการจำหน่ายผู้ป่วยโรคโควิด-19 กลับไปในชุมชน 

      วิทย์ วิชัยดิษฐ; Wit Wichaidit; วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์; Virasakdi Chongsuvivatwong; ศรัญญู ชูศรี; Sarunyou Chusri; สมนรพรรษ สุระสมบัติพัฒนา; Smonrapat Surasombatpattana; ธรรมสินธุ์ อิงวิยะ; Thammasin Ingviya; ธนภร หอทิวากุล; Thanaporn Hortiwakul; ก้องภพ เจริญญาณพันธ์; Kongpop Charoenyanapan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)
      หลักการและวัตถุประสงค์ ประเทศไทยประสบปัญหาการระบาดของโรคโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ (โควิด-19) มาตั้งแต่ช่วงกลางเดือนมกราคม พ.ศ. 2563 จนถึงปัจจุบัน ผู้ป่วยโควิด-19 ที่มีอาการจะต้อง admit เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเป็นผู้ป่วยใน ...