Research Reports: Recent submissions
Now showing items 421-440 of 2466
-
การสังเคราะห์ข้อเสนอและออกแบบเชิงนโยบายการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้องค์การบริหารส่วนจังหวัด
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)แม้ประเทศไทยจะประกาศใช้พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาเป็นระยะเวลา 22 ปีแล้ว แต่รัฐบาลก็ยังประสบปัญหาความล่าช้าในการถ่ายโอนภารกิจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ... -
เส้นทางการเจ็บป่วยของโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ความรอบรู้ทางสุขภาพ และกลยุทธ์การสื่อสารในการต่อสู้กับโรคเบาหวาน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเส้นทางการเจ็บป่วย ความรอบรู้ทางสุขภาพ การดำเนินงานในการต่อสู้กับโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และการพัฒนากลยุทธ์การสื่อสารเพื่อต่อสู้กับโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โดยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี ประกอบด้วย 1) ... -
การประเมินผลการจัด Acute Respiratory Infection (ARI) Clinics เพื่อการดำเนินงานตรวจรักษาและควบคุมโรคโควิด-19 โรงพยาบาลรามาธิบดี
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-04)การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบบรรยาย (Descriptive qualitative research design) โดยใช้วิธีการวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยใช้ CIPP Model เป็นกรอบแนวคิดในการวิจัย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ประเมินโครงสร้างของระบบการจัดการ ... -
การตั้งและพัฒนาระบบการตรวจลำดับสารพันธุกรรมให้แก่ผู้ป่วยโรคพันธุกรรม โรคหายากและพิการ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)โรคหายากพบในประชากรมากกว่า 350 ล้านคนทั่วโลก และมากกว่า 80 เปอร์เซ็นต์ของโรคเกิดจากสาเหตุทางพันธุกรรม โรคหายากจำนวนมากเป็นโรคที่มีความรุนแรงและทำให้เกิดความพิการแต่แรกเกิด การวินิจฉัยโรคหายากมีความซับซ้อนสูงมาก ... -
การศึกษาและพัฒนาชุดอุปกรณ์ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางอากาศแบบเคลื่อนย้ายได้
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)ในสภาวะปกติใหม่ ชุดอุปกรณ์ที่สามารถช่วยป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางอากาศแบบเคลื่อนย้ายได้ (mobile Isolation precaution unit) เป็นหนึ่งในอุปกรณ์สำคัญที่จะช่วยลดความเสี่ยงต่อการแพร่กระจายของเชื้อทางอากาศ เช่น โควิด-19 ... -
ความเต็มใจยอมรับและความเต็มใจที่จะจ่ายเงินการได้รับการฉีดวัคซีนกระตุ้นซ้ำป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02-28)การวิจัยเรื่องความเต็มใจยอมรับและความเต็มใจที่จะจ่ายเงินต่อการฉีดวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และประเมินตัวทำนายผลลัพธ์ในประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความชุกของความต้องการรับวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ... -
การวิจัยเพื่อหาระยะเวลาที่เหมาะสมในการจำหน่ายผู้ป่วยโรคโควิด-19 กลับไปในชุมชน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)หลักการและวัตถุประสงค์ ประเทศไทยประสบปัญหาการระบาดของโรคโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ (โควิด-19) มาตั้งแต่ช่วงกลางเดือนมกราคม พ.ศ. 2563 จนถึงปัจจุบัน ผู้ป่วยโควิด-19 ที่มีอาการจะต้อง admit เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเป็นผู้ป่วยใน ... -
ประสิทธิผลของวัคซีนโควิด-19 ในประเทศไทย: การศึกษาในสถานการณ์จริง (ปีที่ 1)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)ข้อมูลประสิทธิผลของวัคซีนในสถานการณ์จริงในการป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 ช่วงการระบาดด้วยสายพันธุ์เดลต้าและโอไมครอนด้วยวัคซีนโควิด-19 มีความจำเป็นเร่งด่วนเพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ (โควิด-19) ... -
การบริหารจัดการทันตแพทย์เฉพาะทาง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบบริการทันตกรรมในระดับเขตสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12-11)ตั้งแต่มีระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า ระบบบริการทันตกรรมก็ให้ความสำคัญที่การเพิ่มอัตราการเข้าถึงบริการเป็นสำคัญ ต่อมาเมื่อกระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (service plan) สาขาสุขภาพช่องปากก็ยึดอัตราการเข้าถึงบ ... -
ผลกระทบจากการระบาดของโรคโควิด 19 ต่อการทำกิจกรรมการดำเนินชีวิตและรูปแบบการให้บริการทางกิจกรรมบำบัดที่ตอบสนองต่อยุคชีวิตวิถีใหม่
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01-29)การวิจัยนี้เป็นการศึกษาแบบผสมผสาน (mixed method) ประกอบด้วยการวิจัยเชิงปริมาณด้วยแบบสอบถามและการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการสนทนากลุ่ม เพื่อศึกษาผลกระทบของสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (COVID-19) ต่อการทำกิจกรรมการดำเนิน ... -
การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายในการพัฒนากำลังคนด้านการพยาบาล: การผลิต การกระจาย การธำรงรักษา เพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์การระบาดของโรคระบาดใหญ่
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)การวิจัยแบบผสมผสานครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายในการพัฒนากำลังคนด้านการพยาบาล: การผลิต การกระจาย การธำรงรักษาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างทั้งเชิงปริมาณ ... -
การขยายมาตรการสนับสนุนและส่งเสริมการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสมในโรงพยาบาลในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03-15)การติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย ในปี ค.ศ. 2015 องค์การอนามัยโลกแนะนำให้ใช้ Global Antimicrobial Resistance Surveillance System (GLASS) และดำเนินการส่งเสริมการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสม ... -
การเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในบ่อบำบัดน้ำเสียบริเวณจังหวัดที่พบผู้ป่วยยืนยันการติดเชื้อ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12-20)กรมควบคุมโรค โดยกองโรคติดต่อทั่วไป ได้ดำเนินโครงการเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในบ่อบำบัดน้ำเสียบริเวณจังหวัดที่พบผู้ป่วยยืนยันการติดเชื้อ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจหาเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 ในสิ่งปฏิกู ... -
การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายโดยใช้ข้อมูลจากระบบปัญญาประดิษฐ์สำหรับการดูอัตราการใส่หน้ากากอนามัยเมื่ออยู่นอกบ้านจากภาพกล้องวงจรปิด เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)โรคโควิด-19 มีผลทำให้คนเสียชีวิตจำนวนมากทั่วโลก และหลายประเทศได้รับความเสียหายด้านเศรษฐกิจ การใส่หน้ากากเป็นวิธีป้องกันการแพร่ระบาดวิธีหนึ่ง ซึ่งได้รับการยอมรับทางการแพทย์ไม่เหมือนกันในแต่ละประเทศ โดยวัฒนธรรม ความตื่นตัว ... -
ความชุกและอุบัติการณ์ของการติดเชื้อด้วยการตรวจทางซีโรโลยีและการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อ SARS-CoV-2 ในบุคลากรทางการแพทย์ด่านหน้าที่ดูแลผู้ป่วย เปรียบเทียบกับบุคลากรทางการแพทย์ที่ไม่ได้ดูแลผู้ป่วย COVID-19 ในสถานการณ์การระบาดของโรค COVID-19 ภายในโรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)หลักการและเหตุผล บุคลากรทางการแพทย์ที่ทำงานด่านหน้า เป็นกลุ่มเสี่ยงสูงที่มีโอกาสติดเชื้อโควิด ทำให้มีโอกาสต้องตรวจสวอปบ่อยครั้ง การตรวจด้วยวิธีทางซีโรโลยี ทำได้ง่ายและสามารถใช้ในการเฝ้าระวังได้ การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสง ... -
การวิเคราะห์ช่องว่างนโยบายการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)ในภาพรวมสถานการณ์พัฒนาการเด็กไทยในช่วง 10 ปี ที่มีการดำเนินการนโยบายพัฒนาการเด็กปฐมวัยมาอย่างต่อเนื่อง (2554-2564) แต่ยังพบหลายปัจจัยที่มีผลต่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยที่ดำเนินการได้ยังไม่เต็มประสิทธิภาพและข้อมูลผลล ... -
การจัดระบบดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางไตสำหรับหน่วยบริบาลปฐมภูมิ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)โรคไตเสื่อมเรื้อรัง (Chronic kidney disease, CKD) เป็นโรคที่มีความสำคัญต่อระบบสาธารณสุขของประเทศไทยและนานาชาติ เนื่องจากจำนวนผู้ป่วยที่เป็นโรคไตเรื้อรังมาก และมีการดำเนินของโรคจนเข้าสู่ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ต้องได้ร ... -
การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตแพทย์และพยาบาลห้องฉุกเฉินในโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชนที่ได้รับผลกระทบจากโควิด-19 ในเขตพื้นที่ EEC
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)โควิด-19 แพร่ระบาดอย่างต่อเนื่อง พบผู้ติดเชื้อสูงขึ้นโดยเฉพาะพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor; EEC) เป็นเขตพื้นที่ควบคุมสูงสุด กลายเป็นมหาวิกฤติทางสาธารณสุข ซึ่งแพทย์และพยาบาลห้องฉุกเฉินเป็นด่ ... -
พัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่นำไปปฏิบัติได้จริงในโรงพยาบาลทุกระดับ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01-21)การวิจัยเรื่อง พัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่นำไปปฏิบัติได้จริงในโรงพยาบาลทุกระดับ หรือ Development of Practical Care Plan for Stroke Patients in Multi-Level Hospital มีวัตถุประสงค์หลัก คือ ต้องการพัฒนารูปแ ... -
การประเมินสมรรถนะระบบสุขภาพของประเทศไทย ปี 2563 - 2564 (รายงานวิจัย)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบันส่งผลต่อปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพของประเทศ ทั้งการเปลี่ยนแปลงของประชากรในเชิงโครงสร้างและพฤติกรรม จำนวนประชากรสูงอายุเพิ่มมากขึ้น ในขณะที่วัยแรงงานมีสัดส่วนลดลง การพัฒนาอุตส ...