DSpace at Health Systems Research Institute (HSRI): ชิ้นงานเข้าใหม่
แสดงรายการ 161-180 จาก 5809
-
การจัดทำระบบฐานข้อมูลและทดลองใช้เครื่องมือมาตรฐาน รายงานต้นทุน (Standard Cost Report) ของสถานพยาบาลในพื้นที่นำร่อง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)โครงการนี้ดำเนินการตามข้อเสนอคณะทำงานขับเคลื่อนความเพียงพอและความยั่งยืนของงบประมาณ เป็นการปรับปรุงการจัดทำบัญชีต้นทุนสถานพยาบาล เป็นมาตรการ Prerequisite ระยะสั้นของคณะทำงานขับเคลื่อนความเพียงพอและความยั่งยืนของงบประมาณภ ... -
การศึกษาเชิงคุณภาพ นโยบายการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคไม่ติดต่อในสถานประกอบการของผู้บริหารองค์กรและงานทรัพยากรบุคคล ประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)ความเป็นมา: คณะรัฐมนตรีได้กำหนดแผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) พ.ศ. 2564 ในส่วนการปฏิรูประบบสาธารณสุข มีจุดเน้นที่นโยบายและมาตรการในที่ทำงาน โดยกำหนดเป้าหมายให้มี “นโยบายสุขภาพในที่ทำงาน” แต่การศึกษาด้านการบริหารจัดการ ... -
การทำนายการเกิดโรคสมองเสื่อมในผู้สูงอายุโดยการตรวจถ่ายภาพเลือดมาเลี้ยงสมองทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ร่วมกับการกระตุ้นการรู้คิด
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-02)ที่มา : การทำนายการเกิดโรคอัลไซเมอร์ในคนที่มีภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยมีหลายวิธี แต่มีความแม่นยำไม่มากนัก การใช้การตรวจ Loewenstein-Acevedo Scale for Semantic Interference and Learning (LASSI-L) พบว่า มีความไวสูงในการ ... -
ผลกระทบทางการเงินและการจัดบริการสุขภาพของสถานการณ์ระบาดใหญ่ของโรคโควิด-19 ต่อโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)ที่มา : การเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของจำนวนผู้ป่วยโรคโควิด-19 (Covid-19 Surged) และจำนวนผู้ป่วยวิกฤติที่เพิ่มขึ้นตามมาจากสถานการณ์ระบาดใหญ่ (Pandemic) ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โรคโควิด-19) ส่งผลกระทบต่อภาพรวมของค่าใช ... -
เภสัชพันธุศาสตร์ของการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ทางผิวหนังชนิดรุนแรงจากยาที่เป็นสาเหตุหลักในประเทศไทย (ปีที่ 2)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)อาการไม่พึงประสงค์ทางผิวหนังชนิดรุนแรงจากยา (Severe Cutaneous Adverse Drug Reactions, SCARs) จัดเป็นอาการไม่พึงประสงค์ที่มักไม่สัมพันธ์กับฤทธิ์หรือขนาดยา ซึ่งมีอันตรายรุนแรงถึงแก่ชีวิตได้ โดยยาที่เป็นปัญหาสำคัญอันดับต้นๆ ... -
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์และผลกระทบด้านงบประมาณของการตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย ปีที่ 2
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)บทนำ : จากการจัดลำดับความสำคัญและการคัดเลือกการตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ (คู่ยีน-ยา) ที่ควรนำมาพิจารณาประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ พบว่า การตรวจยีน HLA-B*57:01 เปรียบเทียบกับการไม่ตรวจยีน ก่อนเริ่มการรักษาด้วยยา Abacavir ... -
การพัฒนาต้นแบบผลิตภัณฑ์โพรไบโอติกเพื่อการสร้างเสริมจุลินทรีย์ที่ดี ในลำไส้ในผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก (ปีที่ 2)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)มะเร็งลำไส้เป็นสาเหตุการตายอันดับ 3 ของมะเร็งทุกชนิดในประชากรทั่วโลก สาเหตุสัมพันธ์กับการขาดสมดุลของจุลินทรีย์ในช่องท้อง มีรายงานการศึกษาก่อนหน้าทั้งการศึกษานอกกายและการศึกษาในกายแสดงให้เห็นว่า จุลินทรีย์โพรไบโอติกสามารถ ... -
การสร้างและพัฒนาแพลตฟอร์มการแก้ไขจีโนมเพื่อการรักษาอย่างจำเพาะในโรคพันธุกรรมชนิดรุนแรง (ปีที่ 2)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-02)โรคที่เกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรมมีความหลากหลายมาก บางโรคมีความรุนแรงทำให้ผู้ป่วยทุพพลภาพหรือเสียชีวิตในเวลาไม่นาน ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องแบบปฐมภูมิ หรือ Primary Immunodeficiency Disorders (PIDs) เป็นโรคทางพันธุกรรม ... -
ประสิทธิผลการฝึกจัดการความเครียดด้วยวิธีการฝึกหายใจและการฝึกสติต่อหน้าที่บริหารจัดการของสมองและคลื่นไฟฟ้าสมองในกลุ่มพยาบาลวิชาชีพที่ทำงานในเขตสุขภาพที่ 4
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12-20)ข้อมูลจากการสำรวจแสดงให้เห็นถึงระดับความเครียดที่สูงในกลุ่มพยาบาลวิชาชีพ ซึ่งถือว่ามากกว่าประชาชนทั่วไป ความเครียดส่งผลต่อหน้าที่บริหารจัดการของสมอง โดยจะกระทบต่อการทำงานและการใช้ชีวิตเป็นลำดับ งานวิจัยนี้จึงมุ่งทดสอบประ ... -
ข้อเสนอเชิงนโยบาย การบริหารกำลังคนด้านสุขภาพเพื่อรับมือการระบาดใหญ่ในหน่วยบริการปฐมภูมิในบริบทการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปองค์การบริหารส่วนจังหวัด
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-02)ข้อเสนอเชิงนโยบาย (Policy Brief) การบริหารกำลังคนด้านสุขภาพเพื่อรับมือการระบาดใหญ่ในหน่วยบริการปฐมภูมิในบริบทการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปองค์การบริหารส่วนจังหวัด มีข้อเสนอเชิงนโยบาย ดังนี้ 1) กองสาธารณสุข ... -
หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าประเทศไทยอยู่ที่ตรงไหนของโลก
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567)ข้อเสนอเชิงนโยบาย (Policy Brief) หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าประเทศไทยอยู่ที่ตรงไหนของโลก เนื้อหาประกอบด้วย 1) ความครอบคลุมบริการด้านสุขภาพที่จำเป็น 2) การล้มละลายทางการเงินด้านสุขภาพ และ 3) ผลลัพธ์ของการบรรลุหลักประกันสุขภา ... -
ประกันสุขภาพถ้วนหน้าสำหรับคนสัญชาติไทย หรือทุกคนบนผืนแผ่นดินไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567)ข้อเสนอเชิงนโยบาย (Policy Brief) ประกันสุขภาพถ้วนหน้าสำหรับคนสัญชาติไทย หรือทุกคนบนผืนแผ่นดินไทย เนื้อหาประกอบด้วย 1) ความครอบคลุมสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ได้แก่ สิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ ... -
ระบบสุขภาพปฐมภูมิภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567)ข้อเสนอเชิงนโยบาย (Policy Brief) ระบบสุขภาพปฐมภูมิภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เนื้อหาประกอบด้วย 1) การดำเนินงานด้านระบบสุขภาพปฐมภูมิภายใต้กองทุนประกันสุขภาพภาครัฐ 2) ความท้าทายของระบบสุขภาพปฐมภูมิภายใต้ระบบหลักประ ... -
สถานการณ์บริการบำบัดทดแทนไตในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567)ข้อเสนอเชิงนโยบาย (Policy Brief) สถานการณ์บริการบำบัดทดแทนไตในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เนื้อหาประกอบด้วย 1) บริการบำบัดทดแทนไต 2) การเพิ่มขึ้นของผู้รับบริการบำบัดทดแทนไต และงบประมาณบริการ (รวมทุกสิทธิ) 3) การเปลี่ยนแ ... -
การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567)ข้อเสนอเชิงนโยบาย (Policy Brief) การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในประเทศไทย เนื้อหาประกอบด้วย 1) สถานการณ์การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 2) งบประมาณและรายจ่ายด้านการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 3) ผลงานบริการสร้างเสร ... -
หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : ความยั่งยืนทางการเงินการคลัง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567)ข้อเสนอเชิงนโยบาย (Policy Brief) หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : ความยั่งยืนทางการเงินการคลัง เนื้อหาประกอบด้วย 1) สถานการณ์รายจ่ายสุขภาพภาครัฐและครัวเรือนปี พ.ศ. 2537-2564 2) ความท้าทายจากรายจ่ายสุขภาพของภาครัฐที่เพิ่มสูงขึ้ ... -
ความครอบคลุมอย่างมีประสิทธิผล (Effective Coverage) ของการบริการในสิทธิหลักประกันโรคเบาหวาน และโรคความดัน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567)ข้อเสนอเชิงนโยบาย (Policy Brief) ความครอบคลุมอย่างมีประสิทธิผล (Effective Coverage) ของการบริการในสิทธิหลักประกันโรคเบาหวาน และโรคความดัน เนื้อหาประกอบด้วย 1) ความครอบคลุมอย่างมีประสิทธิผล (Effective coverage) 2) ... -
การประชุมระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของประเทศไทย พ.ศ. 2566 ทบทวนอดีตและแถลงการณ์สู่อนาคต
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567)ข้อเสนอเชิงนโยบาย (Policy Brief) การประชุมระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของประเทศไทย พ.ศ. 2566 ทบทวนอดีตและแถลงการณ์สู่อนาคต เนื้อหาประกอบด้วย 1) กิจกรรมของการประชุมฯ และผู้เข้าร่วมการประชุมฯ 2) ผลลัพธ์ที่สำคัญของการประชุมฯ ... -
การวิเคราะห์ระบบเฝ้าระวังและป้องกันการฆ่าตัวตายที่ใช้ชุมชนเป็นฐานเพื่อการขยายผลด้วยกรอบแนวคิด CFIR, RE-AIM และ NPT
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-01)สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำพูนได้พัฒนารูปแบบการป้องกันและแก้ไขปัญหาการฆ่าตัวตาย เรียกว่า “ระบบเฝ้าระวังและป้องกันการฆ่าตัวตายที่ใช้ชุมชนเป็นฐาน หรือยุทธศาสตร์ 4 เสา” เพื่อลดอัตราการฆ่าตัวตายในจังหวัด โดยดำเนินงานทุกอำเภอ ... -
การพัฒนาแบบจำลองทำนายความเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประเทศไทยเพื่อประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจต่อระบบหลักประกันสุขภาพและระบบสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-10)โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างแบบจำลองทำนายความเสี่ยง 2 แบบจำลองหลัก คือ 1.1 แบบจำลองทำนายความเสี่ยงการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประชากรทั่วไป และ 1.2 แบบจำลองทำนายความเสี่ยงการเกิดภาวะแทรกซ้อนและการเสีย ...