Now showing items 21-36 of 36

    • ประสิทธิผลของการได้รับวัคซีนโควิด-19 ครบ 3 เข็มในการลดการเสียชีวิตของผู้สูงอายุที่ติดเชื้อโควิด-19 ในจังหวัดสมุทรปราการ 

      รังสรรค์ วงษ์บุญหนัก; Rungsan Wongboonnak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      การวิจัยนี้เป็นการศึกษาแบบย้อนหลังในสถานการณ์จริง เพื่อศึกษาประสิทธิผลของวัคซีนในการลดการเสียชีวิตของผู้สูงอายุที่ติดเชื้อโควิด-19 เปรียบเทียบระหว่างกลุ่มที่ได้รับวัคซีนโควิด-19 ครบ 3 เข็ม กับที่ไม่ครบ 3 เข็ม โดยใช้ฐานข้ ...
    • ประเทศไทยกับการขับเคลื่อนประเด็นสุขภาพจิตในเวทีระดับโลก 

      วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; เทอดศักดิ์ เดชคง; Terdsak Detkong; ชะเอม พัชนี; Cha-aim Pachanee; บรรลุ ศุภอักษร; Banlu Supaaksorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      ในสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ความตึงเครียดจากความไม่แน่นอนของสถานการณ์ฯ เพิ่มสูงขึ้น ส่งผลให้จำนวนผู้มีปัญหาทางสุขภาพจิตและภาระโรคทางสุขภาพจิตเพิ่มมากขึ้น ประเทศไทยได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาสุขภาพจิตในช่วงของการระ ...
    • ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับงานกับภาวะสุขภาพจิตของบุคลากรทางการแพทย์ในช่วงการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 

      ดาวรุ่ง คำวงศ์; Daoroong Komwong; จีระเกียรติ ประสานธนกุล; Jirakeat Prasanthanakul; มุทิตา พนาสถิตย์; Muthita Phanasathit; ธนิยะ วงศ์วาร; Taniya Wongwan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      การวิจัยแบบตัดขวาง ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุกของภาวะสุขภาพจิต พฤติกรรมป้องกันเพื่อลดโอกาสติดเชื้อ และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับงานและภาวะสุขภาพจิตของบุคลากรทางการแพทย์สังก ...
    • ปิดช่องว่างด้วยระบบสุขภาพ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-03)
      บทความในวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2564 ให้ความสำคัญกับการลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย โดยให้ความสนใจกับสุขภาพเด็กตั้งแต่เริ่มต้นด้วยการให้ทารกได้กินนมแม่ นโยบายกินนมแม่อย่างเดียวจนอายุหกเดือ ...
    • ผลกระทบจากการระบาดของโควิด-19 และรูปแบบการให้บริการกิจกรรมบำบัดทางไกลในยุคชีวิตวิถีใหม่ 

      มะลิวัลย์ เรือนคำ; Maliwan Rueankam; วัฒนารี อัมมวรรธน์; Watthanaree Ammawat; ศุภลักษณ์ เข็มทอง; Supalak Khemthong; พรเพ็ญ ศิริสัตยะวงศ์; Pornpen Sirisatayawong; พรทิพย์พา ธิมายอม; Pornthippa Thimayom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      งานวิจัยแบบผสมผสานครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาต่อรูปแบบการให้บริการกิจกรรมบำบัดในประเทศไทยและความเป็นไปได้ในการนำรูปแบบจากต่างประเทศมาใช้ในบริบทสังคมไทย โดยสำรวจความคิดเห็นจากนักกิ ...
    • ผลกระทบด้านสุขภาพจากสถานการณ์ระบาดของโควิด-19 ต่อผู้มีความบกพร่องทางการเห็นในเขตกรุงเทพมหานคร 

      ประภัสสรา พงศ์พันธุ์พิศาล; Prapatsara Pongpunpisand; มนทยา สุนันทิวัฒน์; Montaya Sununtiwat; สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong; ลือรัตน์ อนุรัตน์พานิช; Luerat Anuratpanich (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) สร้างผลกระทบต่อสุขภาพและความเป็นอยู่ของประชาชนโดยเฉพาะในกลุ่มเปราะบาง การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบด้านสุขภาพจากมาตรการทางสาธารณสุขในสถานการณ์การระบาดโรคโควิด-19 ...
    • พฤติกรรมสุขภาพกับปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ในสามกลุ่มวัยของประชากรไทย ระหว่างการระบาดของโควิด-19 

      คนึงนิจ เยื่อใย; Khanuengnij Yueayai; โศภิต นาสืบ; Sopit Nasueb; อรทัย วลีวงศ์; Orratai Waleewong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      ภูมิหลังและเหตุผล: มาตรการป้องกันและควบคุมโควิด-19 ส่งผลกระทบต่อประชาชน ทำให้มีภาวะเครียด มีพฤติกรรมในการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และสูบบุหรี่มากขึ้น มีกิจกรรมทางกายลดน้อยลงหรือมีพฤติกรรมเนือยนิ่งเพิ่มขึ้น ทั้งนี้อายุเป็น ...
    • มิติเวลาเพื่อความเป็นธรรม ข้อสังเกตจากโควิด 19 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      ปรากฏการณ์ที่โรคโควิด 19 สามารถเป็นได้กันทุกคนทั่วโลกเพราะไม่มีใครมีภูมิคุ้มกันมาก่อน ใครสัมผัสก่อน คนนั้นเป็นก่อน จนกระทั่งเป็นกันเกือบทุกคน โรคจึงสงบได้ มิติทางเวลา เช่น ใครติดโรคก่อนหรือเป็นทีหลัง ก็อาจทำให้ผลลัพธ์การ ...
    • ระบบบริหารจัดการโรงพยาบาลสนามในสถานการณ์โควิด-19: กรณีศึกษาโรงพยาบาลบุษราคัม 

      อภิรดี นันท์ศุภวัฒน์; Apiradee Nantsupawat; อรอนงค์ วิชัยคำ; Orn-Anong Wichaikhum; กุลวดี อภิชาติบุตร; Kulwadee Abhicharttibutra; ฐิติณัฏฐ์ อัคคะเดชอนันต์; Thitinut Akkadechanunt; ชญาภา แสนหลวง; Chayapha Sanluang; เกศราภรณ์ อุดกันทา; Kedsaraporn Udkunta (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      โรงพยาบาลบุษราคัมเป็นโรงพยาบาลสนามขนาดใหญ่เฉพาะด้านในการดูแลผู้ป่วยโควิด-19 การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายระบบบริหารจัดการ ปัญหา/อุปสรรค และกลยุทธ์ในการบริหารจัดการของโรงพยาบาลบุษราคัมและให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบา ...
    • รูปแบบการดูแลทางไกลด้วยระบบแยกกักตัวที่บ้านในมิติกำลังคนด้านสุขภาพในเขตสุขภาพที่ 12 ของไทย 

      วรัญญา จิตรบรรทัด; Waranya Jitbantad; ภัทรธิดา ฟองงาม; Pattaratida Fong-ngam; ขัตติยา เสมอภพ; Khattiya Samerpop; ไมซาเร๊าะ ขุนรักษ์ หมานระเด็น; Maisaroh Khunrak Manraden; ฮัสสัน จิตรบรรทัด; Hassan Jitbantad (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ที่ส่งผลให้อัตรากำลังด้านสุขภาพไม่เพียงพอต่อการดูแลผู้ติดเชื้อ ก่อให้เกิดรูปแบบการดูแลแบบแยกกักตัวที่บ้านขึ้น และมีกลุ่มจิตอาสาด้านสุขภาพช่วยดูแลโดยใช้รูปแบบการดูแลทางไกล การวิจัยเชิงค ...
    • วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2565 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2565 ประกอบด้วย บทบรรณาธิการ เรื่อง สถานการณ์โควิด-19 ที่ท้าทายระบบสุขภาพปฐมภูมิไทย โดย ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย นิพนธ์ต้นฉบับ จำนวน 8 บทความ ได้แก่ 1) สถานการณ์ร ...
    • วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 16 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2565 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)
      วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 16 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2565 ประกอบด้วย บทบรรณาธิการ เรื่อง การขับเคลื่อนนโยบายการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในประเทศไทย โดย นพคุณ ธรรมธัชอารี, นุชรินธ์ โตมาชา และศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย นิพนธ์ต้นฉบับ ...
    • วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2566 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2566 ประกอบด้วย บทบรรณาธิการ เรื่อง ความเป็นธรรมในงานวิจัย: เรียนรู้จากสถานการณ์โควิด โดย ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย นิพนธ์ต้นฉบับ จำนวน 11 บทความ ได้แก่ 1) ...
    • วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 17 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2566 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 17 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2566 ประกอบด้วย บทบรรณาธิการ เรื่อง การคลังสุขภาพในระบบสุขภาพปฐมภูมิ: ยกระดับหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดย ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย นิพนธ์ต้นฉบับ จำนวน 12 บทความ ...
    • สถานการณ์โควิด-19 ที่ท้าทายระบบสุขภาพปฐมภูมิไทย 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      แล้วการระบาดของโรคโควิด19- ระดับโลกที่สร้างระเบียบวิถีใหม่ก็เปลี่ยนผ่านเข้าสู่วาระโรคประจำถิ่น การเขย่าโลกอย่างแรงทำให้คนทั่วโลกเกือบ 550 ล้านคนรายงานว่าป่วย 6.5 ล้านคนตาย และรับวัคซีนเกือบ 12,000 ล้านโด๊สพร้อมๆ ...
    • อุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงของการติดเชื้อโควิด-19 ในกลุ่มทารกแรกเกิด: การศึกษาแบบภาคตัดขวางในประเทศไทย 

      พิมลพรรณ ต่างวิวัฒน์; Pimolphan Tangwiwat; ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์; Titiporn Tuangrattananon; วรรณชนก ลิ้มจำรูญ; Wanchanok Limchumroon; เบญจวรรณ อิ้งทม; Benjawan Ingthom; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)
      ที่มาและความสำคัญ: การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ส่งผลกระทบอย่างมากต่อมาตรการควบคุมโรค การใช้ชีวิตประจำวัน และการจัดบริการด้านสุขภาพ หญิงตั้งครรภ์และทารกเป็นประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยที่รุนแรงจากการติดโรค การศึกษานี้ ...