Now showing items 1002-1021 of 1334

    • ภาวะโลกร้อนและผลกระทบต่อจุลชีพก่อโรคในคน 

      ชาญวิทย์ ตรีพุทธรัตน์; Chanvit Treeputtarat; จันทพงษ์ วะสี; Chantaphong Wasi (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-03)
      ภาวะโลกร้อนเกิดจากการทำลายชั้นโอโซนในบรรยากาศจากสารกลุ่มฆลอโรฟลูออโรคาร์บอนและเกิดจากภาวะเรือนกระจกจากการสะสมของแก๊สคาร์บอนไดออกไซค์ มีเธน และไนตรัสออกไซค์ การเปลี่ยนแปลงนี้พบในเวลา 150 ปีที่ผ่านมา และพบสูงขึ้นมากในระยะ ...
    • ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงและชีวิต 

      สมชัย บวรกิตติ; Somchai Bovornkitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
    • มดลูก กบูร กับการใช้ยาของผู้หญิงชนบทอิสาน 

      ลือชัย ศรีเงินยวง (2539)
      ความเชื่อในวัฒนธรรมอิสานเรื่อง "กบูร" ได้เปิดช่องให้มีการแสวงประโยชน์จากความเชื่อดังกล่าว และนำไปสู่การให้ยาที่ไม่เหมาะสมอย่างสิ้นเปลือง โดยเฉพาะยาปฏิชีวนะที่จะมีผลต่อสุขภาพในระยะยาว ทั้งในแง่การดื้อยาและผลข้างเคียง
      Tags:
      Top hit
    • มองปฏิรูประบบสุขภาพผ่านรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2559 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)
    • มะเร็งเซลล์บุผิวเยื่อหุ้มปอด การวินิจฉัยทางพยาธิวิทยาที่แม่นยำ 

      สัญญา สุขพณิชนันท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      ในบทความนี้ ผู้นิพนธ์เสนอชื่อ มะเร็งเซลล์บุผิวเยื่อหุ้มปอด ตามศัพท์ malignant pleural mesothelioma.อนึ่งชื่อ mesothelioma ที่นิยมเรียกกันนั้นฟังดูคล้ายโรคเนื้องอกธรรมดา แต่องค์การอนามัยโลกจัดเนื้องอกชนิดนี้เป็นมะเร็ง ...
    • มาตรการควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล และการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล ในโรงพยาบาลรัฐและเอกชน ในประเทศไทย 

      ศิริตรี สุทธจิตต์; Siritree Suttajit; นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; Nithima Sumpradit; เสาวลักษณ์ ฮุนนางกูร; Saowalak Hunnangkul; ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai; วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      สถานการณ์เชื้อแบคทีเรียดื้อยามีแนวโน้มสูงขึ้นในโรงพยาบาล การมีมาตรการควบคุมโรคติดเชื้อ (Hospital Infection Control; IC) และการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล (Antimicrobial Stewardship Programs; ASP) จึงมีความสำคัญ ...
    • มาตรการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในโรงพยาบาลภาครัฐ: การทบทวนและวิเคราะห์กลไกเชิงนโยบายระดับชาติ 

      จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; หนึ่งฤทัย สุกใส; อัจฉราวรรณ โตภาคงาม; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; พิมประภา กิจวิธี; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; เชิดชัย สุนทรภาส; ธนภร ชัยจิต; พรพิศ ศิลขวุธท์; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; Nungrutai Sooksai; Acharawan Topark-ngarm; On-anong Waleekhachonloet; Pimprapa Kitwiti; Thananan Rattanachotphanit; Cherdchai Soontornpas; Thanaporn Chaijit; Pornpit Silkavut; Samrit Srithamrongsawat; Supon Limwattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)
      การใช้ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติที่มีราคาแพงเป็นสาเหตุของการเติบโตอย่างรวดเร็วของค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพโดยเฉพาะระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ การศึกษานี้ทบทวนกลไกระดับชาติในการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในภาครัฐที่เคยมี ...
    • มาตรการส่งเสริมและกำกับการใช้ยาสมเหตุผลในระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการของโรงพยาบาล 34 แห่ง สำหรับยา 9 กลุ่มที่มีค่าใช้จ่ายสูง 

      ภาสกร สวนเรือง; Passakorn Suanrueang; อัจฉราวรรณ โตภาคงาม; Acharawan Topark-ngarm; สุมนต์ สกลไชย; Sumon Sakolchai; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paiboon Suriyawongpaisarn; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      ค่าใช้จ่ายด้านยาในระบบจ่ายตรงของระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ มีแนวโน้มเพิ่มสูงมาก การศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจมาตรการส่งเสริมและกำกับการใช้ยาสมเหตุผล และการควบคุมค่าใช้จ่ายที่มีการดำเนินการในโรงพยาบาล 34 แห่งสำหรับยา ...
    • มิติทางสังคมของพฤติกรรมการใช้ถุงยางอนามัย การศึกษาเชิงคุณภาพกับหญิงบริการอาชีพพิเศษ กรณีศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ 

      เพ็ญจันทร์ ประดับมุข (2537)
      นอกจากองค์ความรู้ด้านชีวการแพทย์แล้ว ความรู้ด้านสังคมศาสตร์นับว่ามีความสำคัญไม่น้อยในการแก้ปัญหาสาธารณสุข เพราะปัญหาสาธารณสุขมีส่วนเกี่ยวข้องกับเรื่องพฤติกรรมนุษย์อย่างแยกกันไม่ได้เลย การวิจัยนี้จึงเป็นแง่มุมหนึ่งทางด้าน ...
    • มิติเวลาเพื่อความเป็นธรรม ข้อสังเกตจากโควิด 19 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      ปรากฏการณ์ที่โรคโควิด 19 สามารถเป็นได้กันทุกคนทั่วโลกเพราะไม่มีใครมีภูมิคุ้มกันมาก่อน ใครสัมผัสก่อน คนนั้นเป็นก่อน จนกระทั่งเป็นกันเกือบทุกคน โรคจึงสงบได้ มิติทางเวลา เช่น ใครติดโรคก่อนหรือเป็นทีหลัง ก็อาจทำให้ผลลัพธ์การ ...
    • มุมมองของผู้บริหารต่อการนำร้านยาเข้าเชื่อมโยงกับระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 

      วิวรรธน์ อัครวิเชียร; จีริสุดา คำสีเขียว; ดวงทิพย์ หงษ์สมุทร; พิมลศรี แสงคาร์; พยอม สุขเอนกนันท์; Wiwat Arkaravichien; Jeerisuda Khumsikiew; Duangtip Hongsamoot; Pimolsri Sangkar; Phayom Sookaneknun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      เนื่องจากการศึกษาความคิด และมุมมองของผู้บริหารอาจสะท้อนให้เห็นช่องทางการพัฒนาและกำหนดทางเดินได้ ผู้วิจัยงานนี้จึงดำเนินงานเพื่อศึกษาแง่คิดและมุมมองของผู้บริหารที่เกี่ยวข้องในการเชื่อมโยงร้านยาเอกชนให้เข้ามาร่วมบริการในระ ...
    • มุมมองของผู้ใช้บริการต่อบริการทางเภสัชกรรมหากมีการนำร้านยาคุณภาพเข้าในเครือข่ายระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 

      วิวรรธน์ อัครวิเชียร; Wiwat Arkaravichien; นุดี ชาลีเชียงพิณ; Nudee Chaleechiangpin; กานติศา บุญเสริม; Kantisa Boonserm; จิรัฐติ สุทธิโสม; Jiratti Suttisom; วีระพันธุ์ ปัตถา; Weerapun Puttha (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-06)
      ร้านยาที่ได้รับการตรวจประเมินและรับรองเป็นร้านยาคุณภาพจากสภาเภสัชกรรมเป็นร้านยาที่ให้บริการตามมาตรฐานวิชาชีพเภสัชกรรมและมีศักยภาพที่จะร่วมให้บริการแก่ประชาชนในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติได้ แต่ปัจจุบันร้านยาคุณภาพยังไม่ ...
    • ยาต้านไวรัสไข้หวัดใหญ่ 

      อรลักษณา แพรัตกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
    • ยาปฏิชีวนะ: จากดินสู่ดิน 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      การค้นพบเพนนิซิลลินของ Sir Alexander Fleming ที่โรงพยาบาลเซ็นต์แมรี่ กรุงลอนดอน เมื่อปี ค.ศ. 1928 เป็นการเปิดศักราชใหม่ของยาปฏิชีวนะที่ช่วยชีวิตผู้คนจำนวนมากจากโรคติดเชื้อ Streptococcus, Staphylococcus, ไข้กาฬหลังแอ่น คอตีบ ...
    • ยุทธศาสตร์การจัดการภาวะน้ำหนักตัวเกินและโรคอ้วนกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 

      สิรินทร์ยา พูลเกิด; ทักษพล ธรรมรังสี; Sirintrya Poolgird; Taksapol Thamrungsi (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-12)
      ภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนเป็นปัญหาสุขภาพของโลก ความชุกของภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนในประเทศไทย เพิ่มสูงขึ้นชัดเจนในประชากรชายและหญิง และปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพที่สำคัญ ด้วยความสำคัญของวิกฤตภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนต่อสังคมไทย ...
    • ยุทธศาสตร์เพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคบริการทางการแพทย์ 

      อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล; สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ (2551-12-04)
      บทความนี้ ปรับปรุงจากเอกสารวิชาการที่นำเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณศุข เมื่อวันที่ 4 มกราคม 2538 ซึ่งเป็นบทความที่มีประโยชน์ต่อการกำหนดนโยบายด้านสาธารณสุขที่เหมาะสม
    • ระดับตะกั่วในเลือดของประชาชนรอบบริเวณโรงงานหลอมตะกั่ว 

      ประสิทธิ์ชัย มั่งจิตร; Prasitchai Mungchit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การศึกษานี้เป็นการวิจัยภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับตะกั่วในเลือดของประชาชนที่อยู่อาศัยอยู่ในบริเวณรองโรงงานหลอมตะกั่ว ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล และปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมกับระดับตะกั่วในเลือด ...
    • ระดับน้ำตาลในเลือดวัดด้วยเครื่องเจาะปลายนิ้ว โรงพยาบาลแม่สาย จังหวัดเชียงราย 

      ศิริศักดิ์ นันทะ; Sirisak Nanta; ไพบูลย์ ธรรมวิชัยพันธ์; Paiboon Thammavichipan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การศึกษานี้เป็นการศึกษาภาคตัดขวางแบบวิเคราะห์กลุ่มตัวอย่างผู้ป่วยที่มาตรวจรักษาที่คลินิกเบาหวานโรงพยาบาลแม่สาย จังหวัดเชียงราย ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2550 จำนวน 139 ราย เป็นหญิงร้อยละ 69.6 อายุเฉลี่ย 54.3 ± 12.5 ปี ...
    • ระบบกายภาพบำบัดของคนไทยในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2548-2557) 

      พรพิมล จันทรวิโรจน์; Pornphimon Chantrawirot (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      องค์ประกอบหนึ่งที่สำคัญของการมีสุขภาพดี คือ การที่ร่างกายสามารถเคลื่อนไหวและทำกิจกรรมต่างๆ ได้อย่างปรกติ ไม่ว่าจะเป็นการทำงาน ทำงานบ้าน งานอดิเรก และกิจกรรมทางสังคม "กายภาพบำบัด" เป็นกระบวนการที่ช่วยเสริมสร้างและแก้ไขฟื้ ...
    • ระบบการคลังกับการกระจายอำนาจทางสาธารณสุข 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย (2538)
      จากการเสนอโครงร่างศึกษาแนวทางการกระจายอำนาจการบริหารงานสาธารณสุขส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น โดยสถาบันที่ปรึกษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ ร่วมกับกระทรวงสาธารณสุข ในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2538 ณ วิทยาลัยการสาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ...