Now showing items 59-78 of 1334

    • กลไกธรรมาภิบาลในการควบคุมวิชาชีพเวชกรรมในต่างประเทศ: กรณีศึกษาประเทศสหราชอาณาจักร นิวซีแลนด์ และแอฟริกาใต้ 

      ไพศาล ลิ้มสถิตย์; Paisan Limstit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      แพทยสภาเป็นองค์กรสำคัญของระบบอภิบาลในระบบสุขภาพ (health system governance) และเป็นสภาวิชาชีพที่ควบคุม กำกับดูแลการประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่มีความสำคัญในหลายประเทศ กรณีศึกษาแพทยสภาต่างประเทศคือ ประเทศสหราชอาณาจักร นิวซีแลนด์ ...
    • กลไกเชื่อมโยงองค์ความรู้สู่นโยบายด้านสุขภาพและการค้าระหว่างประเทศ: กรณีศึกษาคณะกรรมการสนับสนุนการศึกษาและติดตามการเจรจาการค้าระหว่างประเทศที่มีผลกระทบต่อสุขภาพและนโยบายสุขภาพ (คจคส.) 

      วีระ หวังสัจจะโชค; Weera Wongsatjachock; วินัย ลีสมิทธิ์; Vinai Leesmidt; ชินวัฒน์ หรยางกูร; Shinawat Horayangkura; นพพล ผลอำนวย; Noppon Phon-amnuai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)
      บทความวิจัยฉบับนี้มุ่งศึกษาการทำงานของคณะกรรมการสนับสนุนการศึกษาและติดตามการเจรจาการค้าระหว่างประเทศที่มีผลกระทบต่อสุขภาพและนโยบายสุขภาพ (คจคส.) ในฐานะกลไกเชื่อมโยงองค์ความรู้สู่นโยบาย เพื่อวิเคราะห์การดำเนินการและพิจารณ ...
    • กังหันลม กังหันความคิด สะกิดระบบสุขภาพไทย ฉบับที่ 1 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      จดหมายข่าวฉบับปฐมฤกษ์นี้ นำเสนอเรื่องสุขภาพชุมชนและบริการปฐมภูมิอันเป็นรากฐานสำคัญของระบบสุขภาพ และเป็นบริการที่อยู่ใกล้ชิดกับวิถีชีวิตของผู้คนและชุมชน ซึ่งถือเป็นภารกิจอันยิ่งใหญ่ที่เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
    • กังหันลม กังหันความคิด สะกิดระบบสุขภาพไทย ฉบับที่ 2 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      จดหมายข่าวฉบับเดือนเมษายนนี้ ส่งถึงผู้อ่านในช่วงเดือนที่มีวันสำคัญมากมาย โดยเฉพาะวันผู้สูงอายุ วันที่ย้ำให้ลูกหลานทุกคนได้ตระหนักถึงคุณค่าและความหมายของผู้สูงอายุที่เป็นเหมือนร่มโพธิ์ร่มไทรของครอบครัว จากการคาดการณ์พบว่า ...
    • กังหันลม กังหันความคิด สะกิดระบบสุขภาพไทย ฉบับที่ 3 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      กังหันลม ฉบับเดือนกรกฎาคมนี้ นำเสนอหลากหลายมุมมองและวิถีปฏิบัติที่อาจทำให้เกิดแรงบันดาลใจ หรือเกิดประกายแสงสว่างน้อยๆ นำทางให้พบกับความสุขและเห็นคุณค่าของการงานตรงหน้าที่ต้องทำทุกวัน ผ่านการบอกเล่าของผู้คนแวดวงสาธารณสุข ...
    • การกระจายทันตาภิบาลไทย และภาระงานที่ปฏิบัติในศูนย์สุขภาพ พ.ศ.2549 

      พิศักดิ์ องค์ศิริมงคล; Pisak Onksririmongkol; สุณี วงศ์คงคาเทพ; Sunee Wongkongkabheb; สาลิกา เมธนาวิน; Salika Methanawin; อลิสา ศิริเวชสุนทร; Alisa Sirivejsuntorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์การกระจายทันตาภิบาล และภาระงานที่ปฏิบัติงานในศูนย์สุขภาพชุมชน พ.ศ. 2549 การวิเคราะห์การกระจายทันตาภิบาล พ.ศ. 2549 ใช้ฐานข้อมูลทันตบุคลากรที่รวบรวมโดยกองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย ...
    • การกระจายร้านยากับความต้องการด้านสุขภาพในประเทศไทย 

      สุมน นิติการุญ; Sumon Nitikarun; นิลวรรณ อยู่ภักดี; Nilawan Upakdee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-03-31)
      ร้านยาเป็นหน่วยบริการสุขภาพที่ให้บริการยาและสุขภาพเบื้องต้นในชุมชน การกระจายร้านยาในแต่ละพื้นที่อย่างเหมาะสมจะทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการเภสัชกรรมชุมชนได้ง่ายขึ้น และมีความปลอดภัยจากการใช้ยามากขึ้น วัตถุประสงค์ ...
    • การกระจายอำนาจด้านการส่งเสริมสุขภาพในประเทศเม็กซิโก สวีเดน และนิวซีแลนด์ 

      จิรบูรณ์ โตสงวน; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; หทัยชนก สุมาลี; Jiraboon Tosanguan; Siriwan Pitayarangsarit; Hathaichanok Sumalee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      หลายประเทศได้เลือกใช้กฎบัตรอ๊อตตาวาเป็นแม่แบบในการพัฒนานโยบายการสร้างเสริมสุขภาพ สำหรับทุกประเทศที่ศึกษานี้ได้ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของชุมชน ประเทศเม็กซิโกกำหนดองค์ประกอบในการส่งเสริมสุขภาพสำหรับการประเมินการสร้า ...
    • การกระจายอำนาจด้านสาธารณสุข : ความเป็นมา สถานการณ์และแนวโน้มในอนาคต 

      จักรกฤษณ์ วังราษฎร์; Jukkrit Wungrath (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-12)
      รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 และ 2550 รวมถึงพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่ท้องถิ่น พ.ศ. 2542 ถือเป็นจุดเริ่มต้นของการกระจายอำนาจรัฐจากส่วนกลางไปยังท้องถิ่น เฉพาะการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุขใ ...
    • การกระจายอำนาจด้านสุขภาพของประเทศฟิลิปปินส์ 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux; อรสา โฆวินทะ; Auengpha Singtipphun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-04)
      การกระจายอำนาจและการถ่ายโอนภารกิจด้านสุขภาพจากส่วนกลางไปสู่ท้องถิ่น ได้มีการดำเนินงานมานานในประเทศฟิลิปปินส์ ตั้งแต่ พ.ศ. 2535 ส่วนประเทศไทยได้ริเริ่มผลักดันการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นมาตั้งแต่ พ.ศ. 2475 จนกระทั่งสามารถนำม ...
    • การกระจายอำนาจด้านสุขภาพในต่างประเทศ 

      จิรบูรณ์ โตสงวน; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; หทัยชนก สุมาลี; Jiraboon Tosanguan; Siriwan Pitayarangsarit; Hathaichanok Sumalee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      การกระจายอำนาจเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งในการพัฒนาระบบสุขภาพที่อาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น เช่น เพิ่มประสิทธิภาพทำให้มีการตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนได้รวดเร็วและตรงจุดมากขึ้น ตรวจสอบง่ายขึ้น, Rondinelli ...
    • การกระจายและการใช้ยาปฏิชีวนะของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คลินิก และร้านยา 

      นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; Nithima Sumpradit; เสาวลักษณ์ ฮุนนางกูร; Saowalak Hunnangkul; ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai; วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      ความไม่สอดคล้องระหว่างรายการยาปฏิชีวนะที่มีใช้ในหน่วยบริการ กับศักยภาพการให้บริการของหน่วยบริการ อาจทำให้เกิดการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตุผล อันจะส่งผลต่อการเกิดเชื้อดื้อยา การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการกระจายแล ...
    • การกระจายและความเหลื่อมล้ำของอัตรากำลังพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทย 

      อัครเดช เกตุฉ่ำ; Akadet Kedcham; อรุณรัตน์ คันธา; Arunrat Khanthar; ตวงทิพย์ ธีระวิทย์; Tuangtip Theerawit; กฤษดา แสวงดี; Krisada Sawaengdee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-03)
      ปัญหาการกระจายและความเหลื่อมล้ำของกำลังคนด้านพยาบาลวิชาชีพนั้นส่งผลเสียต่อการให้บริการสุขภาพทั้งในแง่ของประสิทธิผลและประสิทธิภาพการดำเนินงานระบบบริการสุขภาพรวมถึงส่งผลต่อคุณภาพของการให้บริการสุขภาพด้วย การศึกษาเกี่ยวกับ ...
    • การกลับไปประกอบอาชีพของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองภายหลังได้รับการรักษาที่สถาบันประสาทวิทยา 

      ทิพยรัตน์ ศฤงคารินกุล; พรทิพย์พา ธิมายอม; Tipyarat Saringcarinkul; Pornthippa Thimayom (2557-06)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอัตราและปัจจัยต่อการกลับไปประกอบอาชีพของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองภายหลังการบำบัดและฟื้นฟูสมรรถภาพจากสถาบันประสาทวิทยา เป็นการศึกษาเชิงพรรณนา ทำการศึกษาในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองจำนวน 198 ...
    • การกำหนดราคาเบิกจ่ายของยาและผลกระทบต่องบประมาณโรงพยาบาลภาครัฐในปีงบประมาณ 2553 

      เพชรรัตน์ พงษ์เจริญสุข; อังคณา แสงนภากาศ; อรลักษณ์ พัฒนาประทีป; Petcharat Pongcharoensuk; Angkana Saengnapakas; Oraluck Pattanaprateep (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      ค่าใช้จ่ายสำหรับสวัสดิการรักษาพยาบาลของข้าราชการในประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว การกำหนดราคาอ้างอิง (หรือเพดานเบิกจ่าย) ของยาเป็นกลไกที่สามารถควบคุมค่าใช้จ่ายได้ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอราคาอ้างอิงของยาที่มี ...
    • การกำหนดหัวข้อวิจัยระบบสุขภาพไทยแบบมีส่วนร่วม 

      ทรงยศ พิลาสันต์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Songyot Pilasant; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-09)
      งานวิจัยด้านนโยบายและระบบสุขภาพเป็นสิ่งจำเป็นในการสร้างเสริมความเข้มแข็งของระบบสุขภาพ การจัดลำดับความสำคัญของหัวข้อวิจัยด้านสุขภาพจึงมีความสำคัญในการจัดสรรงบประมาณด้านการวิจัยที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เป็นไปอย่างคุ้มค่า ...
    • การขับเคลื่อนนโยบายการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในประเทศไทย 

      นพคุณ ธรรมธัชอารี; Noppakun Thammatacharee; นุชรินธ์ โตมาชา; Nucharin Tomacha; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)
      การใช้ยาอย่างสมเหตุผล (rational drug use; RDU) คือ การที่ประชาชนได้รับยาที่เหมาะสมกับความจำเป็นด้านสุขภาพในขนาดและระยะเวลาที่ถูกต้อง เกิดเป็นค่าใช้จ่ายน้อยที่สุดต่อตัวผู้ป่วยและสังคม การพัฒนาแนวคิด RDU ให้เป็นนโยบายที่นำ ...
    • การขึ้นภาษีบุหรี่ มาตรการจำเป็นเพื่อป้องกันเด็กและเยาวชนมิให้ติดบุหรี่เพิ่มขึ้น 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (2537)
      การศึกษานี้เป็น Documentary's Study จัดทำขึ้นเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2536 เพื่อใช้เป็นส่วนหนึ่งของเอกสารประกอบการพิจารณาของคณะรัฐมนตรีเรื่องการขึ้นภาษีสรรพสามิตบุหรี่เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2536 ซึ่งผลการพิจารณาของ ครม. ...
    • การคงอยู่ในชนบทของบัณฑิตแพทย์ในโครงการผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบท 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; ลลิตยา กองคำ; วรางคณา วรราช; สัญญา ศรีรัตนะ; กฤษฎา ว่องวิญญู; Nonglak Pagaiya; Lalitthaya Kongkam; Warangkhana Worarat; Sanya Sriratana; Krisada Wongwinyou (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      การศึกษานี้เพื่อวิเคราะห์การคงอยู่ในชนบทของแพทย์ในโครงการผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบท (Collaborative Project to Increase Rural Doctors: CPIRD) โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิจากกองการเจ้าหน้าที่ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขในปี 2554 ...
    • การคงอยู่ในชนบทและในราชการของแพทย์ภายหลังการเพิ่มค่าตอบแทนในการปฏิบัติงานที่ชนบท 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; สัญญา ศรีรัตนะ; กฤษฎา ว่องวิญญู; จิราภรณ์ หลาบคำ; วรางคณา วรราช; Nonglak Pagaiya; Sanya Sriratana; Krisada Wongwinyou; Chiraporn Lapkom; Warangkhana Worarat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของการคงอยู่ในชนบทของแพทย์ภายหลังการเพิ่มเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่ายในปี 2552 เก็บข้อมูลทุติยภูมิจากกระทรวงสาธารณสุข เพื่อให้ทราบรูปแบบการเคลื่อนย้ายของแพทย์ในระหว่างปี 2544-2554 ...