Now showing items 995-1014 of 1334

    • ภาวะเลือดมีโฆเลสเทอรอลมากเกินกรรมพันธุ์ 

      ปรียา ลีฬหกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      ภาวะเลือดมีโฆเลสเทอรอลมากเกิน (hypercholesterolemia) ทีมีสาเหตุจากกรรมพันธุ์ จะมีอาการแสดงลักษณะเฉพาะช่วยการวินิจฉัยทำนองดูหน้า รู้โรค ให้เห็นได้โดยเฉพาะถ้าเป็นชนิดพันธุ์แท้ (homozygous familial hypercholesterolemia)คือ ...
    • ภาวะโลกร้อน : ผลกระทบต่อพืช 

      สายชล เกตุษา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      ภาวะโลกร้อน คือ อุณหภูมิบรรยากาศผิวโลกสูงขึ้น อุณหภูมิสูงสามารถทำให้พืชได้รับอันตรายและอาจทำให้พืชตายได้ โดยกลวิธีหลายทาง แม้ว่าในทางธรรมชาติ พืชมีความสามารถในการป้องกันตัวเองให้อยู่รอดจากอันตรายที่เกิดจากอุณหภูมิสูง ...
    • ภาวะโลกร้อนกับภัยน้ำท่วม 

      สุทัศน์ ยกส้าน (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
    • ภาวะโลกร้อนกับเพศทารกแรกคลอดในประเทศไทย 

      อรวรรณ ศิริรัตน์พิริยะ; สมชัย บวรกิตติ; Orawan Siriratpiriya; Somchai Bovornkitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      ในรอบศตวรรษที่ผ่านมา (พ.ศ. 2449-2548) อุณหภูมิเฉลี่ยบนผิวโลกเพิ่มขึ้นสูงสุดในช่วง พ.ศ. 2538-2549 โดยปีที่ร้อนที่สุดคือ พ.ศ. 2541 และ พ.ศ. 2548 คณะผู้วิจัยสนใจว่าภาวะโลกร้อนช่วงนี้เป็นปัจจัยอิงกำหนดเพศภาวะของคนไทยเพียงใด ...
    • ภาวะโลกร้อนกับเพศประชากร 

      สมชัย บวรกิตติ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-12)
    • ภาวะโลกร้อนกับโรคมาลาเรีย 

      สุพัตรา ทองรุ่งเกียรติ; เสฏฐวุฒิ แก้ววิเศษ; สมชัย บวรกิตติ; Supatra Thongrungkiat; Setthawut Keawviset; Somchai Bovornkitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      อุณหภูมิเฉลี่ยของผิวโลกในช่วงศตวรรษที่ผ่านไปเพิ่มขึ้นเพิ่มขึ้น 0.74-0.18 องศาเซลเซียส (1.33-0.32 องศาฟาเรนไฮด์) ในขณะที่อุบติการณ์ของภัยธรรมชาติและโรคระบาดก็เพิ่มขึ้น มีผู้ตั้งข้อสังเกตว่าภาวะโลกร้อนจะส่งผลกระทบต่อปัญหาโ ...
    • ภาวะโลกร้อนและผลกระทบ 

      พูนพิภพ เกษมทรัพย์; Poonpipope Kasemsap (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-06)
    • ภาวะโลกร้อนและผลกระทบต่อจุลชีพก่อโรคในคน 

      ชาญวิทย์ ตรีพุทธรัตน์; Chanvit Treeputtarat; จันทพงษ์ วะสี; Chantaphong Wasi (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-03)
      ภาวะโลกร้อนเกิดจากการทำลายชั้นโอโซนในบรรยากาศจากสารกลุ่มฆลอโรฟลูออโรคาร์บอนและเกิดจากภาวะเรือนกระจกจากการสะสมของแก๊สคาร์บอนไดออกไซค์ มีเธน และไนตรัสออกไซค์ การเปลี่ยนแปลงนี้พบในเวลา 150 ปีที่ผ่านมา และพบสูงขึ้นมากในระยะ ...
    • ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงและชีวิต 

      สมชัย บวรกิตติ; Somchai Bovornkitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
    • มดลูก กบูร กับการใช้ยาของผู้หญิงชนบทอิสาน 

      ลือชัย ศรีเงินยวง (2539)
      ความเชื่อในวัฒนธรรมอิสานเรื่อง "กบูร" ได้เปิดช่องให้มีการแสวงประโยชน์จากความเชื่อดังกล่าว และนำไปสู่การให้ยาที่ไม่เหมาะสมอย่างสิ้นเปลือง โดยเฉพาะยาปฏิชีวนะที่จะมีผลต่อสุขภาพในระยะยาว ทั้งในแง่การดื้อยาและผลข้างเคียง
      Tags:
      Top hit
    • มองปฏิรูประบบสุขภาพผ่านรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2559 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)
    • มะเร็งเซลล์บุผิวเยื่อหุ้มปอด การวินิจฉัยทางพยาธิวิทยาที่แม่นยำ 

      สัญญา สุขพณิชนันท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      ในบทความนี้ ผู้นิพนธ์เสนอชื่อ มะเร็งเซลล์บุผิวเยื่อหุ้มปอด ตามศัพท์ malignant pleural mesothelioma.อนึ่งชื่อ mesothelioma ที่นิยมเรียกกันนั้นฟังดูคล้ายโรคเนื้องอกธรรมดา แต่องค์การอนามัยโลกจัดเนื้องอกชนิดนี้เป็นมะเร็ง ...
    • มาตรการควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล และการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล ในโรงพยาบาลรัฐและเอกชน ในประเทศไทย 

      ศิริตรี สุทธจิตต์; Siritree Suttajit; นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; Nithima Sumpradit; เสาวลักษณ์ ฮุนนางกูร; Saowalak Hunnangkul; ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai; วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      สถานการณ์เชื้อแบคทีเรียดื้อยามีแนวโน้มสูงขึ้นในโรงพยาบาล การมีมาตรการควบคุมโรคติดเชื้อ (Hospital Infection Control; IC) และการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล (Antimicrobial Stewardship Programs; ASP) จึงมีความสำคัญ ...
    • มาตรการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในโรงพยาบาลภาครัฐ: การทบทวนและวิเคราะห์กลไกเชิงนโยบายระดับชาติ 

      จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; หนึ่งฤทัย สุกใส; อัจฉราวรรณ โตภาคงาม; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; พิมประภา กิจวิธี; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; เชิดชัย สุนทรภาส; ธนภร ชัยจิต; พรพิศ ศิลขวุธท์; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; Nungrutai Sooksai; Acharawan Topark-ngarm; On-anong Waleekhachonloet; Pimprapa Kitwiti; Thananan Rattanachotphanit; Cherdchai Soontornpas; Thanaporn Chaijit; Pornpit Silkavut; Samrit Srithamrongsawat; Supon Limwattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)
      การใช้ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติที่มีราคาแพงเป็นสาเหตุของการเติบโตอย่างรวดเร็วของค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพโดยเฉพาะระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ การศึกษานี้ทบทวนกลไกระดับชาติในการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในภาครัฐที่เคยมี ...
    • มาตรการส่งเสริมและกำกับการใช้ยาสมเหตุผลในระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการของโรงพยาบาล 34 แห่ง สำหรับยา 9 กลุ่มที่มีค่าใช้จ่ายสูง 

      ภาสกร สวนเรือง; Passakorn Suanrueang; อัจฉราวรรณ โตภาคงาม; Acharawan Topark-ngarm; สุมนต์ สกลไชย; Sumon Sakolchai; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paiboon Suriyawongpaisarn; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      ค่าใช้จ่ายด้านยาในระบบจ่ายตรงของระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ มีแนวโน้มเพิ่มสูงมาก การศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจมาตรการส่งเสริมและกำกับการใช้ยาสมเหตุผล และการควบคุมค่าใช้จ่ายที่มีการดำเนินการในโรงพยาบาล 34 แห่งสำหรับยา ...
    • มิติทางสังคมของพฤติกรรมการใช้ถุงยางอนามัย การศึกษาเชิงคุณภาพกับหญิงบริการอาชีพพิเศษ กรณีศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ 

      เพ็ญจันทร์ ประดับมุข (2537)
      นอกจากองค์ความรู้ด้านชีวการแพทย์แล้ว ความรู้ด้านสังคมศาสตร์นับว่ามีความสำคัญไม่น้อยในการแก้ปัญหาสาธารณสุข เพราะปัญหาสาธารณสุขมีส่วนเกี่ยวข้องกับเรื่องพฤติกรรมนุษย์อย่างแยกกันไม่ได้เลย การวิจัยนี้จึงเป็นแง่มุมหนึ่งทางด้าน ...
    • มิติเวลาเพื่อความเป็นธรรม ข้อสังเกตจากโควิด 19 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      ปรากฏการณ์ที่โรคโควิด 19 สามารถเป็นได้กันทุกคนทั่วโลกเพราะไม่มีใครมีภูมิคุ้มกันมาก่อน ใครสัมผัสก่อน คนนั้นเป็นก่อน จนกระทั่งเป็นกันเกือบทุกคน โรคจึงสงบได้ มิติทางเวลา เช่น ใครติดโรคก่อนหรือเป็นทีหลัง ก็อาจทำให้ผลลัพธ์การ ...
    • มุมมองของผู้บริหารต่อการนำร้านยาเข้าเชื่อมโยงกับระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 

      วิวรรธน์ อัครวิเชียร; จีริสุดา คำสีเขียว; ดวงทิพย์ หงษ์สมุทร; พิมลศรี แสงคาร์; พยอม สุขเอนกนันท์; Wiwat Arkaravichien; Jeerisuda Khumsikiew; Duangtip Hongsamoot; Pimolsri Sangkar; Phayom Sookaneknun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      เนื่องจากการศึกษาความคิด และมุมมองของผู้บริหารอาจสะท้อนให้เห็นช่องทางการพัฒนาและกำหนดทางเดินได้ ผู้วิจัยงานนี้จึงดำเนินงานเพื่อศึกษาแง่คิดและมุมมองของผู้บริหารที่เกี่ยวข้องในการเชื่อมโยงร้านยาเอกชนให้เข้ามาร่วมบริการในระ ...
    • มุมมองของผู้ใช้บริการต่อบริการทางเภสัชกรรมหากมีการนำร้านยาคุณภาพเข้าในเครือข่ายระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 

      วิวรรธน์ อัครวิเชียร; Wiwat Arkaravichien; นุดี ชาลีเชียงพิณ; Nudee Chaleechiangpin; กานติศา บุญเสริม; Kantisa Boonserm; จิรัฐติ สุทธิโสม; Jiratti Suttisom; วีระพันธุ์ ปัตถา; Weerapun Puttha (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-06)
      ร้านยาที่ได้รับการตรวจประเมินและรับรองเป็นร้านยาคุณภาพจากสภาเภสัชกรรมเป็นร้านยาที่ให้บริการตามมาตรฐานวิชาชีพเภสัชกรรมและมีศักยภาพที่จะร่วมให้บริการแก่ประชาชนในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติได้ แต่ปัจจุบันร้านยาคุณภาพยังไม่ ...
    • ยาต้านไวรัสไข้หวัดใหญ่ 

      อรลักษณา แพรัตกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)