Now showing items 1-3 of 3

    • การส่งเสริมการเดินและใช้จักรยานในชีวิตประจำวัน: กรณีศึกษา 4 ชุมชนในประเทศไทย 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; อัจจิมา มีพริ้ง; Atjima Meepring (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      การเดินและการใช้จักรยานเป็นกิจกรรมทางกายรูปแบบหนึ่งที่ประชาชนสามารถทำได้อย่างสม่ำเสมอในชีวิตประจำวัน ซึ่งส่งผลดีต่อสุขภาพ สิ่งแวดล้อมและเศรษฐกิจ การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินกระบวนการดำเนินงานส่งเสริมการเดิน ...
    • กิจกรรมทางกาย การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และค่าใช้จ่ายในการเดินทาง: กรณีศึกษาของ 3 ชุมชนในประเทศไทย 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; อรณา จันทรศิริ; Orana Chandrasiri; ฐิติพร สุแก้ว; Thitiporn Sukaew; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthrasri; สรศักดิ์ เจริญสิทธิ์; Sorasak Charoensit; อัจจิมา มีพริ้ง; Atjima Meepring; รัชพร คงประเสริฐ; Ratchaporn Kongprasert; พุฒิปัญญา เรืองสม; Putthipanya Ruengsom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      การเดินและการใช้จักรยานเป็นกิจกรรมทางกายรูปแบบหนึ่งที่ประชาชนสามารถทำได้อย่างสม่ำเสมอในชีวิตประจำวัน ซึ่งส่งผลดีต่อสุขภาพ สิ่งแวดล้อมและเศรษฐกิจ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการจัดการสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเด ...
    • บทเรียนจากการพัฒนาและนำนโยบายส่งเสริมการก้าวเดินไปปฏิบัติ 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชลพันธ์ ปิยถาวรอนันต์; Chonlaphan Piyathawornanan; อุดม อัศวุตมางกุร; Udom Asawutmangkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      นโยบายส่งเสริมการก้าวเดิน ได้รับการพัฒนาในปี พ.ศ. 2562 โดยคณะอนุกรรมการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ตามแผนการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย พ.ศ. 2561-2573 โดยดำเนินการผ่านโครงการก้าวท้าใจ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ...