Now showing items 1-16 of 16

    • กรณีศึกษาการวิเคราะห์ต้นทุนบริการสุขภาพปฐมภูมิเปรียบเทียบระหว่างโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลถ่ายโอนแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและที่คงสังกัดกระทรวงสาธารณสุข 

      ชนิดา เอกอัครรุ่งโรจน์; Chanida Ekakkararungroj; กฤษฎา เจริญรุ่งเรืองชัย; Kridsada Chareonrungrueangchai; ชญาพัช ราชาตัน; Chayapat Rachatan; เฌอริลิณญ์ ประทุมสุวรรณ์; Sherilyn Pratumsuwan; ธนายุต เศรณีโสภณ; Thanayut Saeraneesophon; ณชวิศ กิตติบวรดิฐ; Nachawish Kittibovorndit; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบต้นทุนต่อหน่วยของบริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ที่ถ่ายโอนไปเทศบาลเมือง และเทศบาลตำบล และ รพ.สต. ที่ยังสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ใช้วิธีวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยแบบมาตรฐาน ...
    • กังหันลม กังหันความคิด สะกิดระบบสุขภาพไทย ฉบับที่ 1 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      จดหมายข่าวฉบับปฐมฤกษ์นี้ นำเสนอเรื่องสุขภาพชุมชนและบริการปฐมภูมิอันเป็นรากฐานสำคัญของระบบสุขภาพ และเป็นบริการที่อยู่ใกล้ชิดกับวิถีชีวิตของผู้คนและชุมชน ซึ่งถือเป็นภารกิจอันยิ่งใหญ่ที่เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
    • การจัดการระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิในเขตเมือง กรณีศึกษาจังหวัดนครราชสีมาและจังหวัดบุรีรัมย์ 

      วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; เอนก มุ่งอ้อมกลาง; Anek Mungaomklang; อังคณา สมนัสทวีชัย; Angkana Sommanustweechai; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      จังหวัดนครราชสีมาและจังหวัดบุรีรัมย์เป็นจังหวัดขนาดใหญ่ที่มีโรงพยาบาลศูนย์อยู่ในอำเภอเมืองโรงพยาบาลศูนย์นี้ต้องให้บริการทั้งผู้ป่วยในเขตอำเภอเมือง ในเขตจังหวัด และเขตพื้นที่ของจังหวัดอื่นที่อยู่ใกล้เคียง ทำให้มีภาระมาก ...
    • การจัดบริการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 

      เจริญ เกียรติวัชรชัย; Charoen Kaitwatcharachai; สมถวิล เกียรติวัชรชัย; Somthawil Kaitwatcharachai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      โรคไตเรื้อรังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ เนื่องจากมีผู้ป่วยจำนวนมากและค่าใช้จ่ายในการรักษาสูง บทบาทของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) คือ ค้นหาและคัดกรองกลุ่มเสี่ยง งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและข้อจำ ...
    • การประเมินตนเองของหน่วยบริการปฐมภูมิในการจัดบริการแบบบูรณาการโดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางสำหรับผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat; ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paibul Suriyawongpaisal; วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย; Vorasith Srisornvichai; สันติ ลาภเบญจกุล; Santi Lapbenjakul; ดวงดาว ศรียากูล; Duangdao Sriyakun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      ภูมิหลังและเหตุผล โครงการวิจัยพัฒนารูปแบบการจัดบริการปฐมภูมิแบบบูรณาการโดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางได้พัฒนาแนวทางการจัดบริการสำหรับผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงและนำร่องการดำเนินการในคลินิกหมอครอบครัว (primary care cluster: ...
    • การประเมินบริการปฐมภูมิของประเทศไทยจากมุมมองของผู้ให้บริการ 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; Krit Pongpirul; สุพัตรา ศรีวณิชชากร; Supattra Srivanichakorn; Barbara Starfield (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      บริการปฐมภูมิเป็นกิจกรรมสำคัญในการปฏิรูประบบสุขภาพของประเทศ แต่จนถึงปัจจุบันยังไม่มีการประเมินอย่างเป็นรูปธรรมในประเทศไทย การศึกษานี้จึงดำเนินขึ้นเพื่อประเมินบริการปฐมภูมิของประเทศไทย จากมุมมองของผู้ให้บริการในพื้นที่ ...
    • การประเมินผลคุณภาพและมาตรฐานการให้บริการทางห้องปฏิบัติการของหน่วยบริการปฐมภูมิตามมาตรฐานกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2557-2559 

      เรวดี สิริธัญญานนท์; Raevadee Siritunyanont; วาสิฏฐี แก้วกระจ่าง; Wasittee Kaewkrajang; ปวีณา กมลรักษ์; Paweena Kamolrak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      การจัดทำระบบคุณภาพและมาตรฐานทางห้องปฏิบัติการสำหรับหน่วยบริการปฐมภูมิ หรือ Primary Care Standard (PCS) ประกอบด้วย 8 หัวข้อใหญ่ 40 หัวข้อย่อย นำมาจัดเรียงเป็นแบบตรวจติดตามและประเมินผล (checklist) เพื่อให้หน่วยบริการปฐมภูม ...
    • การประเมินรูปแบบการจัดบริการปฐมภูมิสำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในจังหวัดขอนแก่น 

      พิทยา ศรีเมือง; Phitthaya Srimuang; จรียา ยมศรีเคน; Jareeya Yomseeken; ฐิติกานต์ เอกทัตร์; Thitikan Ekathat; วรรณศรี แววงาม; Wanasri Wawngam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)
      บริการสุขภาพปฐมภูมิถือเป็นระบบสำคัญของบริการที่มีคุณภาพเพื่อทำให้ประชาชนมีสุขภาพดีถ้วนหน้า การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินกระบวนการและระบบสนับสนุนขององค์กร รวมทั้งเปรียบเทียบกระบวนการและระบบสนับสนุนขององค์กรกั ...
    • การศึกษาเปรียบเทียบระบบบริการจ่ายยาตามใบสั่งแพทย์ให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ที่โรงพยาบาลกับที่ร้านยาคุณภาพ 

      ระพีพรรณ ฉลองสุข; Rapeepun Chalongsuk; สุรสิทธิ์ ล้อจิตรอำนวย; Surasit Lochind-amnuay; วิชัย สันติมาลีวรกุล; Wichai Suntimaleewolagun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      บริการจ่ายยาต่อเนื่องตามใบสั่งแพทย์แก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรังโดยร้านยาเอกชนภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของไทยเป็นรูปแบบใหม่ของเครือข่ายบริการสุขภาพระหว่างร้านยาเอกชนกับหน่วยบริการปฐมภูมิหลักภายใต้ระบบประกันสุขภาพฯ ...
    • ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพสำหรับระบบบริการปฐมภูมิในปี พ.ศ. 2569 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; Nonglak Pagaiya; บุญเรือง ขาวนวล; Boonruang Khaonuan; พุดตาน พันธุเณร; Pudtan Phanthunane; อดุลย์ บำรุง; Adun Bamrung; ธิดาพร จิรวัฒนะไพศาล; Thidaporn Jirawattanapisal (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      การศึกษานี้เป็นการคาดการณ์ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพสำหรับระบบบริการระดับปฐมภูมิในอนาคต (พ.ศ. 2569) ซึ่งครอบคลุมทั้งภาครัฐและเอกชน และครอบคลุมบริการ (1) การรักษาเบื้องต้นและการแพทย์แผนไทย (2) การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค ...
    • ความเห็นในเรื่อง บทบาท หน้าที่ และกิจกรรมต่อบริการปฐมภูมิของร้านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 

      วิวรรธน์ อัครวิเชียร; ธารินี อัครวิเชียร; ชาญชัย จารุภาชน์; ขนิษฐา เจิมขุนทด; พักตร์วิภา เจริญธรรม; Wiwat Arkaravichien; Tarinee Arkaravichien; Chanchai Jarupach; Khanitha Jermkuntood; Parkwipa Charoenthum (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      แม้ว่าร้านยาจะเป็นที่ให้บริการสุขภาพเบื้องต้นแก่ประชาชน แต่ร้านยาก็ไม่ได้ถูกจัดให้เป็นหน่วยบริการภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพใดๆ ภายหลังที่ประเทศไทยมีระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้มีความพยายามที่จะทดลองร้านยาคุณภาพเป็น ...
    • ต้นทุนเครือข่ายบริการปฐมภูมิ เขตสุขภาพ 8 

      ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย; Kwanpracha Chiangchaisakulthai; อุทุมพร วงษ์ศิลป์; Utoomporn Wongsin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาต้นทุนภาพรวมของเครือข่ายระบบบริการปฐมภูมิโดยคัดเลือกพื้นที่อำเภอที่มีระบบบริการปฐมภูมิที่ดี มีการบริหารจัดการในลักษณะของเครือข่ายตามความเห็นของผู้เชี่ยวชาญด้านระบบบริการปฐมภูมิ ...
    • บทเรียนการบริหารจัดการบริการปฐมภูมิภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : คู่สัญญาระดับปฐมภูมิโรงพยาบาลภูกระดึง 

      เกรียงศักดิ์ วัชรนุกูลเกียรติ; Kriengsak Vacharanukulkieti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การดำเนินการครั้งนี้เป็นการถอดบทเรียนการบริหารจัดการบริการสุขภาพปฐมภูมิของคู่สัญญาระดับปฐมภูมิโรงพยาบาลภูกระดึง ซึ่งได้รับรางวัลหน่วยบริการนวัตกรรม ด้านหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าดีเด่น (เหรียญทอง) ประเภทบริหารจัดการ (Universal ...
    • บริการสุขภาพปฐมภูมิแบบไร้รอยต่อกับความจริงด้านมาตรฐานข้อมูลสุขภาพที่ผู้คนมักไม่ตระหนัก 

      บุญชัย กิจสนาโยธิน; Boonchai Kijsanayotin; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)
      ประเทศไทยให้ความสำคัญกับระบบสุขภาพปฐมภูมิมานานกว่าสองทศวรรษ มีนโยบายจำนวนมากลงมาสู่ระบบสุขภาพปฐมภูมิ แต่ระบบข้อมูลบริการสุขภาพที่จำเป็นและเป็นมาตรฐานได้รับการพัฒนาช้ากว่าที่ควร ซึ่งเป็นความจริงที่ตระหนักกันน้อยว่ามาตรฐาน ...
    • ระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง 14 ประเทศ 

      สุรศักดิ์ บูรณตรีเวทย์; วิวัฒน์ พุทธวรรณไชย; วิศรี วายุรกุล; จรรยา ภัทรอาชาชัย; Surasak Buranatrevedh; Viwat Puttawanchai; Wisree Wayurakul; Junya Pattaraarchachai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      จากการที่มีการขยายตัวของชุมชนเขตเมืองเพิ่มขึ้น ทำให้ระบบบริการปฐมภูมิเขตเมืองมีความสำคัญมากขึ้น การศึกษารูปแบบบริการปฐมภูมิเขตเมืองในประเทศต่างๆจะช่วยให้ได้เรียนรู้รูปแบบที่ดีและนำมาปรับใช้กับระบบบริการของประเทศต่อไปได้ ...
    • สถานการณ์ ศักยภาพ และความพร้อมของไตรภาคี ในการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนในพื้นที่ 12 ตำบล 

      สุพัตรา ศรีวณิชชากร; เกษม เวชสุทธานนท์; วินัย ลีสมิทธิ์; ทัศนีย์ ญาณะ; อรอนงค์ ดิเรกบุษราคม; ภัทระ แสนไชยสุริยา; รวีวรรณ เผ่ากัณหา; พงค์เทพ สุธีรวุฒิ; สิรินาฏ นิภาพร; พฤกษา บุกบุญ; Supattra Srivanichakorn; Kasem Vechasuthanon; Winai Leesmith; Tassanee Yana; Onanong Direkbussarakom; Pattara Sanchaisuriya; Raviwan Paokanha; Pongtep Suthirawuth; Sirinat Nipaporn; Praksa Bookboon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความพร้อมและศักยภาพขององค์กรปกครองท้องถิ่น ชุมชน และเครือข่ายหน่วยบริการสาธารณสุขในระดับปฐมภูมิ ซึ่งเป็นไตรภาคีในการทำงานด้านสุขภาพของพื้นที่ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาแนวทางและบทบาทการร่วม ...