Show simple item record

A National Survey of Thai Traditional and Alternative Medicine Services of Ministry of Public Health Hospitals in 2014

dc.contributor.authorมณฑกา ธีรชัยสกุลth_TH
dc.contributor.authorMonthaka Teerachaisakulth_TH
dc.contributor.authorวรรณศิริ นิลเนตรth_TH
dc.contributor.authorWansiri Nilnateth_TH
dc.contributor.authorอานนท์ วรยิ่งยงth_TH
dc.contributor.authorArnond Warrayingyongth_TH
dc.date.accessioned2015-12-23T09:54:20Z
dc.date.available2015-12-23T09:54:20Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/4377
dc.description.abstractภูมิหลังและเหตุผล: การแพทย์พื้นถิ่นและการแพทย์ทางเลือกมีแนวโน้มถูกนามาใช้ประโยชน์สูงขึ้นเรื่อยๆ และในหลายประเทศประชาชนยังคงใช้การแพทย์แผนดั้งเดิมเป็นหลักในการดูแลสุขภาพเบื้องต้น ปัจจุบันบริการการแพทย์แผนไทยจัดเป็นสิทธิพื้นฐานสาหรับประชาชนไทยที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญและเป็นชุดสิทธิประโยชน์ที่ได้รับความคุ้มครองจากระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าของประเทศไทย ทว่ากลับไม่มีงานวิจัยชิ้นใดที่สารวจการให้บริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกร่วมกัน ดังนั้นงานวิจัยชิ้นนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อสารวจข้อมูลการให้บริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกตลอดจนศึกษาถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดบริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในสถานบริการสังกัดกระทรวงสาธารณสุขโดยสะท้อนผ่านจานวนครั้งบริการผู้ป่วยนอกด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ระเบียบวิธีศึกษา: เป็นการสารวจข้อมูลบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกของสถานพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ระหว่างเดือนตุลาคม 2556 ถึง มีนาคม 2557 โดยใช้แบบเก็บข้อมูลที่สร้างขึ้นตามแนวคิด โครงสร้าง-กระบวนการ-ผลลัพธ์ ซึ่งกระจายและเก็บแบบเก็บข้อมูลผ่านผู้แทนงานแพทย์แผนไทยในสานักงานสาธารณสุขจังหวัดทั้ง 76 จังหวัด วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของปัจจัยด้วยสถิติ Pearson’s Correlation และ Independent t-test และการวิเคราะห์การถดถอยพหุแบบเส้นตรง (Multiple linear regressions) ด้วย enter method ผลการศึกษา: จากแบบเก็บข้อมูล 456 ฉบับ พบว่ามีแบบเก็บข้อมูลตอบกลับทั้งสิ้น 266 ฉบับ หรือคิดเป็นอัตราตอบกลับร้อยละ 58.33 โดยมีแบบเก็บข้อมูลที่สามารถนามาประมวลผลได้ทั้งสิ้น 231 ฉบับ (ร้อยละ 86.84) ระบุว่า มีการจัดบริการแพทย์แผนไทยทั้งหมด (ร้อยละ 100) แบ่งเป็น โรงพยาบาลที่จัดบริการแพทย์แผนไทยเพียงอย่างเดียว จานวน 186 แห่ง (ร้อยละ 80.52) และโรงพยาบาลอีก 45 แห่ง (ร้อยละ 19.48) ระบุว่าจัดทั้งบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ร้อยละผู้ป่วยนอกที่ได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกคิดเป็น ร้อยละ 16.69 โดยพบว่าปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อจานวนครั้งของผู้ป่วยนอกที่ได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ คือ จานวนบุคลากรทั้งหมดของหน่วยงาน(p-value<0.001) ศักยภาพในการจัดบริการผู้ป่วยใน (p-value=0.002) จานวนบุคลากรที่ได้รับเงินเดือนอย่างน้อย 15,000 บาทต่อเดือน (p-value=0.017) การได้รับการยอมรับให้เป็นแหล่งศึกษาดูงาน/ฝึกงานของสถาบันการศึกษา (p-value=0.011) จานวนปีที่เปิดให้บริการ (p-value=0.004) ตลอดจนมูลค่าการสั่งจ่ายยาสมุนไพร (p-value <0.001) สรุปและวิจารณ์: ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า จานวนสถานพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีการจัดบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งบริการด้านการแพทย์แผนไทย ทั้งนี้เพื่อสนับสนุนการจัดบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในระบบ ผลการวิจัยสนับสนุนให้หน่วยงานเชิงนโยบายที่เกี่ยวข้องควรกาหนดกรอบอัตรากาลังในหน่วยบริการการแพทย์แผนไทยที่ชัดเจนโดยครอบคลุมถึงการจ้างในตาแหน่งที่ได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสม การให้ความสาคัญแก่การพัฒนาศักยภาพทางคลินิกของแพทย์แผนไทยอย่างน้อยเพื่อการจัดบริการผู้ป่วยใน ตลอดจนการสร้างเครือข่ายและพันธมิตรจากสถาบันการศึกษา นอกจากนี้ การสนับสนุนให้เกิดการจัดบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในสถานบริการของรัฐเพียงอย่างเดียวอาจไม่เพียงพอ ต้องเน้นย้าถึงการให้บริการที่ต่อเนื่องด้วยth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectการแพทย์แผนไทยth_TH
dc.subjectการแพทย์ทางเลือกth_TH
dc.titleการสำรวจการให้บริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในโรงพยาบาลสังกัด กระทรวงสาธารณสุข ปี พ.ศ.2557th_TH
dc.title.alternativeA National Survey of Thai Traditional and Alternative Medicine Services of Ministry of Public Health Hospitals in 2014th_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeBackground: Increasing trend of Traditional and Complementary Medicine use has been documented worldwide. In many developing countries, the majority of the population continues to use Traditional Medicine to meet its primary health care needs. In Thailand, the Thai Traditional Medicine service is a priviledge for all Thai according to our constitutional as well as Universal Health Care Coverage program. However, none of the study has been conducted to survey for Thai Traditional and Complementray Medicine (TT&CM) services together. This study therefore aims to survey the data base of TT&CM services as well as to study the factors influenecing outpatient department utilization of TT&CM services of Ministry of Public Health hospitals. Method: The data base of TT&CM services were collected from October 2013 to March 2014. The structured collection sheet was distributed and collected through the 76 representatives of Thai Traditional services at the Health Provincial Office. The factors influenecing the outpatient department utilization of TT&CM services were analysed with Pearson’s Correlation, Independent t-test and multiple linear regressions. Results: There were 266 from 456 hospitals have been reported their information. The response rate was 58.33. Only 231 hospitals (86.84%) could be analysed. One hundred percent reported that they have provided Thai Traditional Medicine services with 186 hospitals (80.52%) provide only Thai Traditional Medicine services while 45 hospitals (19.48) provide TT&CM services. The ratio of outpatient department utilization of TT&CM services among Ministry of Public Health hospitals was 16.69. Factors influencing outpatient department utilization of TT&CM services were the number of staffs (p-value<0.001), clinical competency for inpatient services (p-value=0.002), the number of staff receiving wage at least 15,000 Baht per month (p-value=0.017), being a study/ visiting site for education (p-value=0.011), continuing year of services (p-value=0.004) and herbal consumption value (p-value <0.001). Discussion and Conclusion: Results of this study reveal that the numbers of Minsitry of Public Health hospitals providing TT&CM services are increase. To support TT&CM services, human resource planning along with reliable wage, clinical skill for Thai Traditional doctor especially inpatient services and networking with university are prioritized factors.th_TH
.custom.citationมณฑกา ธีรชัยสกุล, Monthaka Teerachaisakul, วรรณศิริ นิลเนตร, Wansiri Nilnate, อานนท์ วรยิ่งยง and Arnond Warrayingyong. "การสำรวจการให้บริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในโรงพยาบาลสังกัด กระทรวงสาธารณสุข ปี พ.ศ.2557." 2558. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4377">http://hdl.handle.net/11228/4377</a>.
.custom.total_download2117
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month4
.custom.downloaded_this_year104
.custom.downloaded_fiscal_year185

Fulltext
Icon
Name: ThaiTraditional-M ...
Size: 337.4Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1334]
    บทความวิชาการ

Show simple item record