เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "บุคลากรทางการแพทย์"
แสดงรายการ 1-20 จาก 53
-
กลไกธรรมาภิบาลในการควบคุมวิชาชีพเวชกรรมในต่างประเทศ : กรณีศึกษาประเทศสหราชอาณาจักร นิวซีแลนด์ และแอฟริกาใต้
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-04)การศึกษาวิจัยเรื่องกลไกธรรมาภิบาลในการควบคุมวิชาชีพเวชกรรมในต่างประเทศ : กรณีศึกษาประเทศสหราชอาณาจักร นิวซีแลนด์ และแอฟริกาใต้ โดยเน้นเรื่องบทบาทหน้าที่ขององค์กรควบคุมกำกับดูแลผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมคือ แพทยสภา ... -
การคาดการณ์กำลังคนทางด้านอาชีพสัตวแพทย์ ปี พ.ศ. 2568
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)อาชีพสัตวแพทย์เป็นอาชีพหลักที่ให้บริการด้านสุขภาพสัตว์ บริการทางด้านสัตวแพทย์นั้น ไม่เพียงแต่จะส่งผลต่อความเป็นอยู่ของสัตว์เท่านั้น แต่ยังส่งผลต่อสุขภาพของมนุษย์ ผ่านบทบาทที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยของอาหารและการควบคุมโร ... -
การคาดการณ์กำลังคนในกลุ่มทันตบุคลากรของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2569
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)ประเทศไทยมีการประมาณการความต้องการทันตบุคลากรหลายครั้ง วิธีการหลักที่ใช้ประมาณการความต้องการทันตแพทย์อ้างอิงจากสภาวะทันตสุขภาพของประชากรแล้วนำมาแปลงเป็นบริการที่ประชากรควรได้รับในมุมมองของทันตแพทย์ และยังไม่พบการประมาณการฯ ... -
การคาดการณ์ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพ: ฐานที่สำคัญในการวางแผนกำลังคน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)การวางแผนกำลังคนด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพต้องอาศัยข้อมูลเชิงประจักษ์สำหรับรองรับการตัดสินใจ ดังนั้นการคาดการณ์ความต้องการกำลังคนที่สอดคล้องกับระบบสุขภาพที่พึงประสงค์จึงเป็นสิ่งจำเป็น เพื่อจะนำไปสู่การวิเคราะห์ปัญหาความไ ... -
การจ่ายค่าตอบแทนบุคลากรทางการแพทย์ : ประเด็นข้อขัดแย้ง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03) -
การถอดบทเรียนการบริหารจัดการกำลังคนด้านการพยาบาลและสมรรถนะของพยาบาลเพื่อตอบสนองภาวะวิกฤตโควิด-19 ในระบบบริการทุติยภูมิและตติยภูมิ เขตสุขภาพที่ 10
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)ผู้ป่วย COVID-19 ที่เพิ่มมากขึ้นทำให้มีการขยายบริการสุขภาพ ซึ่งพยาบาลมีบทบาทสำคัญในการดูแลผู้ป่วยและบริการสุขภาพด้านอื่นๆ ทำให้มีการบริหารอัตรากำลังและพัฒนาสมรรถนะที่แตกต่างกันตามบริบทของโรงพยาบาล การวิจัยแบบถอดบทเรียนนี ... -
การบริหารจัดการกำลังคนของสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินีและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล กรณีถ่ายโอนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยใช้กลไกพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-08)การศึกษาวิจัยเรื่องการบริหารจัดการกำลังคนของสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี (สอน.) และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) กรณีถ่ายโอนไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) โดยใช้กลไกพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ ... -
การบริหารจัดการกำลังคนด้านการพยาบาลและสมรรถนะของพยาบาลเพื่อตอบสนองภาวะวิกฤตโควิด-19 ในระบบบริการทุติยภูมิและตติยภูมิ เขตสุขภาพที่ 10
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)ผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ที่เพิ่มมากขึ้นทำให้บุคลากรสาธารณสุขในโรงพยาบาลต้องมีภาระงานเพิ่มขึ้นมาก โดยเฉพาะวิชาชีพพยาบาลที่มีบทบาทสำคัญในการดูแลผู้ป่วยโดยตรง ทำให้ต้องมีการบริหารอัตรากำลังด้านการพยาบา ... -
การประเมินระบบฐานข้อมูลกำลังคนด้านสุขภาพเพื่อนำไปสู่การพัฒนาตัวชี้วัดเชิงนโยบายกำลังคนด้านสุขภาพ (HRH Code Indicators)
(สำนักงานวิจัยและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ (สวค.) สำนักพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (IHPP.), 2559-03)การศึกษานี้ พยายามทบทวนสถานการณ์ข้อมูลกำลังคนด้านสุขภาพในประเทศไทย รวมถึงการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องเพื่อนำไปสู่การพัฒนาตัวชี้วัดกำลังคนด้านสุขภาพ จากการศึกษาพบว่าประเทศไทยมีฐานข้อมูลกำลังคนด้านสุขภาพหลากหลายแหล่ง ... -
การประเมินศักยภาพของระบบสุขภาพในความพร้อมรับมือการระบาดโรค COVID-19 ในพื้นที่ชายแดน จังหวัดเชียงราย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)การวิจัยแบบภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินศักยภาพของบุคลากรและระบบสุขภาพในการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรค COVID-19 ของหน่วยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงมหาดไทย ในพื้นที่อำเภอชายแดนจังหวัดเชียงราย คือ ... -
การพัฒนาประสิทธิภาพทางการคลังที่ยั่งยืนสำหรับระบบหลักประกันสุขภาพ และแบบจำลองการจัดสรรทรัพยากรกำลังคนด้านสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ 1) พื้นที่การคลังสาธารณสุข: ประมาณการช่องว่างในการกำหนดงบประมาณ (Fiscal Space) ของระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและระบบสาธารณสุข และ 2) การจัดสรรบุคลากร: ศึกษาช่องว่างอุปส ... -
การพัฒนาระบบฐานข้อมูลบุคลากรสาธารณสุขในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)ระบบข้อมูลบุคลากรสาธารณสุข (Human Resources in Health Information System) มีความจำเป็นสำหรับนักวางแผนในการกำหนดปริมาณและความต้องการกำลังคนในอนาคต รวมทั้งจำเป็นสำหรับผู้สอนที่จำเป็นต้องมีข้อมูลความต้องการในการฝึกอบรมและพั ... -
การพัฒนาสมรรถนะที่จำเป็นของพยาบาลวิชาชีพในภาวะที่มีการระบาดหรือภายหลังการระบาดของโรค COVID-19: กรณีศึกษา จังหวัดสงขลา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาสมรรถนะที่จำเป็นของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลผู้ป่วยโรคติดต่ออุบัติใหม่ COVID-19 และพัฒนารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลผู้ป่วยโรคติดต่ออุบัติใหม่ COVID-19 ... -
การพัฒนาสมรรถนะที่จำเป็นของพยาบาลในภาวะที่มีการระบาดของ COVID-19: กรณีศึกษาจังหวัดสงขลา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)การวิจัยปฏิบัติการเชิงวิพากษ์ (emancipatory action research) ร่วมกับกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (action research) ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาสมรรถนะที่จำเป็นของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลผู้ป่วย COVID-19 ... -
การพัฒนาหลักสูตรบุคลากรแกนนำด้านการศึกษาวิชาชีพสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-02)การวิจัยพัฒนาหลักสูตรบุคลากรแกนนำด้านการศึกษาวิชาชีพสุขภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อจัดทำแนวทางและหลักสูตร การพัฒนาแกนนำบุคลากรด้านการศึกษาวิชาชีพสุขภาพ 2) เพื่อศึกษาประสิทธิผลของแนวทางและหลักสูตร การพัฒนาแกนนำบุคลากร ... -
การพัฒนาหลักสูตรพัฒนาสมรรถนะพนักงานเปลเพื่อรองรับระบบบริการสุขภาพคุณภาพสูง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-04)พนักงานเปลเป็นบุคลากรที่ให้บริการด่านหน้าของโรงพยาบาล ซึ่งคาดว่าแนวโน้มการบริการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยจะสูงขึ้นเรื่อยๆ การปฏิบัติงานจึงต้องมีความรวดเร็ว ทันเวลา ถูกต้องและปลอดภัย สอดคล้องกับนโยบาย 3P safety นอกจากนี้ลักษณะกา ... -
การพัฒนาเครื่องมือการประเมินสมรรถนะการดูแลการใช้ยาต้านจุลชีพของนักเรียนแพทย์ เภสัชกร และสัตวแพทย์ก่อนสำเร็จการศึกษาในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2021-11-30)Antimicrobial stewardship is an essential competency for all health care professions. Antimicrobial stewardship has incorporated managerial aspects as well as knowledge, awareness, and practice of antimicrobial use and ... -
การวิจัยประเมินผลนโยบายการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปสู่องค์การบริหารส่วนจังหวัด ส่วนที่ 3 : โครงการวิจัยย่อยที่ 2 การจัดการกำลังคนและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของ รพ.สต. ที่ถ่ายโอนในปีงบประมาณ 2566
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-06)การวิจัยนี้วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประเมินผลด้านการจัดการบุคคลและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ที่ได้รับการถ่ายโอนจากกระทรวงสาธารณสุขไปสู่องค์การบริหารส่วนจังหวัด โดยมุ่งเน้น 1) ผลการเปลี่ยน ... -
การวิจัยเชิงสังเคราะห์ : ข้อเสนอทางเลือกเชิงนโยบายในการกระจายแพทย์ไปปฏิบัติงานที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-10)นโยบายการมีแพทย์ไปให้บริการในหน่วยบริการปฐมภูมิ/โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) มีมาอย่างยาวนาน ในปี พ.ศ. 2562 ได้มีพระราชบัญญัติระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิขึ้น มีเจตนารมณ์ให้ประชาชนชาวไทยมีสิทธิได้รับบริการสุขภาพปฐมภูม ... -
การวิจัยและพัฒนาระบบสารสนเทศและแพลทฟอร์มการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างสภาวิชาชีพกับกระทรวงสาธารณสุขเพื่อการวางแผนและบริหารจัดการกำลังคนสุขภาพของประเทศไทยแบบบูรณาการ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-08)การวิจัยครั้งนี้ มุ่งเน้นการพัฒนาระบบสารสนเทศกำลังคนด้านสุขภาพ เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างสภาวิชาชีพ และกระทรวงสาธารณสุข สำหรับการวางแผนและบริหารจัดการกำลังคนสุขภาพของประเทศไทย โดยการกำหนดชุดมาตรฐานข้อมูลกำลังคนด้านสุขภาพฯ ...