แสดงรายการ 3261-3280 จาก 5452

    • กฏนูเรมเบิร์ก 

      วิชัย โชควิวัฒน (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2552-08)
      กฏนูเรมเบิร์กเป็นหลักเกณฑ์จริยธรรมสากลสำหรับการวิจัยในมนุษย์ที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง โดยเป็นกฎเกณฑ์ที่เขียนขึ้นเพื่อป้องกันมิให้มีการละเมิดจริยธรรม เช่นที่เกิดขึ้นในกองทัพนาซี กฎดังกล่าวเขียนขึ้นขณะที่ทั่วโลกเฝ้า ...
    • การดูแลสุขภาพสำหรับผู้ถือศีลอดในเดือนรอมฎอน 

      มูหมัดดาโอ๊ะ เจะเลาะ; อีระฟาน หะยีอีแต; อนันตชัย ไทยประทาน; ยา สารี; นิลนาถ เจ๊ะยอ; ซอฟียะห์ นิมะ; ยูซูฟ นิมะ (สมาคมจันทร์เสี้ยวการแพทย์และสาธารณสุข, 2551-08)
      รวบรวมเรื่องราวเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของผู้ถือศีลอดในเดือนรอมฎอน
    • การทบทวนองค์ความรู้และประสบการณ์ของต่างประเทศ และประเทศไทยในการทบทวนทะเบียนตำรับยาและระบบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 

      ยุพดี ศิริสินสุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขหน่วยปฏิบัติการวิจัยเภสัชศาสตร์สังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552-10)
      รายงานการทบทวนองค์ความรู้และประสบการณ์ของต่างประเทศและประเทศไทยในการทบทวนทะเบียนตำรับยาและระบบกฎหมายที่เกี่ยวข้องฉบับนี้ เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัยเรื่อง การพัฒนาระบบทบทวนทะเบียนตำรับยา โดยมีสาระสำคัญแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ ...
    • Prince Mahidol Award Conference 2009 : Mainstreaming health into public policies 28-30 January 2009 Bangkok,Thailand 

      Prince Mahidol Award Conference secretariat office (Institute for population and social researchHealth Systems Research Institute, 2009-01)
    • Prince Mahidol Award Conference 2009 : Mainstreaming health into public policies,report on the Prince Mahidol Award conference 2009 28-30 January 2009 Bangkok,Thailand 

      Prince Mahidol Award Conference secretariat office (Health Systems Research InstituteInstitute for population and social research, 2009-01)
    • การศึกษาการขยายโครงการ Antibiotics Smart Use 

      นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; วีรวรรณ แตงแก้ว; วินิต อัศวกิจวิรี; พิสนธิ์ จงตระกูล; กัญญดา อนุวงศ์; สมหญิง พุ่มทอง; เขมวดี ขนาบแก้ว; ณัชธญา นิลพานิชย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2552-09)
      โครงการการศึกษาการขยายโครงการ Antibiotics Smart Use (Antibotics Smart Use ปีที่ 2 หรือ ASU II) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบที่เหมาะสมและผลสัมฤทธิ์ในการขยายโครงการ ASU สู่ความยั่งยืนในการลดการใช้ยาปฏิชีวนะใน 3 โรคเป้าหมาย ...
    • เครือข่ายวิจัยระบบยา 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; นุศราพร เกษสมบูรณ์; ณธร ชัยญาคุณาพฤกษ์; ชนัตถา พลอยเลื่อมแสง; ศิริตรี สุทธจิตต์; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; พรพิศ ศิลขวุธท์; สรชัย จำเนียรดำรงการ; ธนภร ทองศรี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-10)
      เอกสารฉบับนี้รวบรวมประเด็นสำคัญและข้อเสนอจากการประชุมเรื่อง “การวิจัยและพัฒนาระบบยา เพื่อการเข้าถึงยาถ้วนหน้าของประชาชนไทย” จัดโดยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ในวันที่ 26-27 สิงหาคม 2552 ณ. โรงแรมสยามซิตี้ กรุงเทพมหานคร ...
    • พจนานุกรมศัพท์สิ่งแวดล้อม อักษร M 

      ราชบัณฑิตยสถาน. คณะกรรมการจัดทำพจนานุกรมศัพท์สิ่งแวดล้อม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
    • การเขียนทับศัพท์ 

      เลิศศิริร์ บวรกิตติ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      วิธีการเขียนทับศัพท์ภาษาอังกฤษเป็นคำไทย ยังคงหลากหลายรูปแบบ แตกต่างกันในต่างสถาบันหรือแม้ในสถาบันเดียวกัน และแตกต่างกันในกลุ่มนักวิชาการโดยแนวคิดและอุดมการณ์ โดยที่ราชบัณฑิตยสถานเป็นหน่วยงานทางการที่กำหนดการใช้ภาษาของชาติ ...
    • ภาวะเลือดมีโฆเลสเทอรอลมากเกินกรรมพันธุ์ 

      ปรียา ลีฬหกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      ภาวะเลือดมีโฆเลสเทอรอลมากเกิน (hypercholesterolemia) ทีมีสาเหตุจากกรรมพันธุ์ จะมีอาการแสดงลักษณะเฉพาะช่วยการวินิจฉัยทำนองดูหน้า รู้โรค ให้เห็นได้โดยเฉพาะถ้าเป็นชนิดพันธุ์แท้ (homozygous familial hypercholesterolemia)คือ ...
    • ความสามัคคีในหมู่คณะ : กรณีการเลือกตั้งผู้บริหาร 

      สมชัย บวรกิตติ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
    • คลังเลือด 

      สมพล พงศ์ไทย; สมชัย บวรกิตติ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      blood bank มักถูกบัญญัติเป็นคำไทยว่า ธนาคารเลือด แต่มีผู้บัญญัติว่า คลังเลือด เป็นศัพท์บัญญัติที่ถูกต้องกว่า โดยให้เหตุผลว่า ธนาคาร น. (ธน+อคาร) (ธน, ธน- น. ทรัพย์สิน) ซึ่งหมายถึงนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมาย ฯลฯ ...
    • ประเมินการใช้ยาก่อนและหลังการเบิกจ่ายตรงของสวัสดิการข้าราชการในโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์ในกรุงเทพมหานคร 

      เพชรรัตน์ พงษ์เจริญสุข; อรลักษณ์ พัฒนาประทีป (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-09-29)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินแนวโน้มการใช้ยาในโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์ ก่อนและหลังการเบิกจ่ายตรงของสวัสดิการข้าราชการ (เริ่มปีงบประมาณ 2550) โดยเก็บข้อมูลจากใบสั่งยาผู้ป่วยนอกจากฐานข้อมูลอิเลกทรอนิกส์ในปีงบประมาณ ...
    • ภาวะโลกร้อนกับภัยน้ำท่วม 

      สุทัศน์ ยกส้าน (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
    • Art Therapy: Theory and Practice: A Brief Overview 

      Paola Luzzatto (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-06)
    • แนวทางและบทเรียนจากงานประจำสู่งานวิจัย 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      R2R เป็นการค้นหาความจริงที่เกิดขึ้นในงานประจำข้อมูลที่แท้จริงจากการวิจัย นำไปสู่การปรับปรุงกระบวนการคุณภาพของการบริการในโรงพยาบาล หรือปรับปรุงการบริหารจัดการในหน่วยงานบริการ ลักษณะงาน R2R ประกอบด้วยองค์ประกอบ 4 เรื่อง 1. ...
    • ความพึงพอใจต่อการให้สุขศึกษาเพื่อสร้างเสริมสุขภาพของผู้มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก 

      เบญจพร บุญเทียม; จีรารักษ์ โสกัณฑัต; อาบทิพย์ นิยมาภา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก 324 ราย ที่ได้รับการให้สุขศึกษาเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ ในช่วงเดือนมกราคม-เมษายน 2549 เป็นผู้มารับบริการเพื่อตรวจสุขภาพประจำปี ร้อยละ 67.5 ...
    • การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบและการวิเคราะห์เชิงอภิมานประสิทธิผลของยากลุ่มสตาติน ที่มีจำหน่ายในประเทศไทยในการลดการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจอุดตันเฉียบพลันและโรคหลอดเลือดสมองอุดตัน 

      ยุพิน ตามธีรนนท์; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; ปัณรสี ขอนพุดซา; ยศ ตีระวัฒนานนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การศึกษานี้เป็นการประเมินประสิทธิผลทางเวชกรรมของยากลุ่มสตาตินในการลดการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจอุดตันเฉียบพลันและโรคหลอดเลือดสมองอุดตัน โดยการทบทวนวรรณกรรม ยาที่นำมาศึกษา ได้แก่ ยาที่มีจำหน่ายในประเทศไทย คือ atorvastatin, ...
    • การศึกษาสมรรถนะของแบบคัดกรองภาวะเลือดมีไขมันมากเกิน พ.ศ. 2551 

      อัญชลี สงวนตระกูล; วิโรจน์ เจียมจรัสรังษี; ทศพร วิมลเก็จ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การศึกษานี้เพื่อตรวจสมรรถนะของแบบการคัดกรองภาวะเลือดมีไขมันมากเกิน 4 แบบ แบบที่ 1 ตามแนวทางของราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย แบบที่ 2 ตามแนวทางของ National Cholesterol Education Program (NCEP),แบบที่ 3 ตามแนวทางของ ...
    • การสร้างเสริมสุขภาพพนักงานอุตสาหกรรมแปรรูปหินแกรนิต: กรณีศึกษาในจังหวัดระยอง 

      จันทร์ทิพย์ อินทวงศ์; สุนทร เหรียญภูมิการกิจ; ชาติวุฒิ จำจด; เกษสุดา คำแก้ว (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การศึกษานี้เป็นการศึกษาภาวะสุขภาพ ปัจจัยเสี่ยง การสร้างเสริมสุขภาพพนักงานตามแนวคิดการปฏิบัติการพยาบาลอาชีวอนามัย ระดับความรู้เกี่ยวกับโรคประสาทหูเสื่อมจากเสียงดังและโรคปอดฝุ่นหิน และพฤติกรรมการใช้จุกอุดหูก่อนและหลังการใช ...