• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
ดูรายการ 
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • ดูรายการ
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • ดูรายการ
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

ระบบส่งต่อในเขตพื้นที่ชายแดนจังหวัดตาก : ปัญหาและการแก้ไข

จิรพงศ์ อุทัยศิลป์; Chiraphong Utaisin;
วันที่: 254?
บทคัดย่อ
ระบบส่งต่อที่กระทรวงสาธารณสุขกําหนดขึ้นจะเริ่มต้นที่สถานีอนามัยหรือโรงพยาบาลชุมชนใกล้บ้าน ในทางปฏิบัติเมื่อมีผู้ป่วยหนักเกินขีดความสามารถ ถ้าเป็นผู้ป่วยฉุกเฉิน โรงพยาบาลจะจัดรถพยาบาลและเจ้าหน้าที่นำส่งให้ แต่หากไม่ใช่ผู้ป่วยฉุกเฉิน การไปรับการรักษายังสถานบริการตามระบบส่งต่อจะเป็นภาระหน้าที่ของผู้ป่วยเอง ปัญหาเรื่องการที่แพทย์แนะนำหรือส่งผู้ป่วยไปรักษายังโรงพยาบาลที่มีศักยภาพสูงขึ้น แต่ผู้ป่วยไม่ไป น่าจะเป็นปัญหาที่พบเห็นได้เสมอในทุกโรงพยาบาล จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปัจจัยที่แตกต่างกัน แต่สําหรับอําเภอแม่ระมาดและอําเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก ซึ่งเป็นอำเภอชายแดน ประชาชนส่วนใหญ่มีฐานะยากจน ประมาณครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยที่ได้รับการส่งรักษาต่อจะเป็นผู้ป่วยฉุกเฉินซึ่งถูกนําส่งโดยรถพยาบาล แต่อีกประมาณครึ่งหนึ่งต้องเดินทางไปรับการรักษาเอง ผู้ป่วยเหล่านี้ส่วนใหญ่จะป่วยด้วยโรคที่ไม่ฉุกเฉิน จากการศึกษาข้อมูลตอบกลับจากแบบแจ้งผลการตรวจรักษา (ใบตอบใบ refer) พบว่าผู้ป่วยเหล่านี้จำนวนมากไม่ไปรับการรักษา หรือไปรับการรักษาแต่ไม่ต่อเนื่อง ข้อน่าสังเกตคือผู้ป่วยเกือบทุกรายเป็นผู้ที่มีหลักประกันสุขภาพแล้วทั้งสิ้น แต่ไม่สามารถไปรับการรักษาตามระบบส่งต่อได้ เพราะเหตุเนื่องจากฐานะยากจน พูดภาษาไทยไม่ได้ ไม่รู้จักวิธีเดินทาง ฯลฯ แม้ว่าโรงพยาบาลจะได้ตระหนักและหาหนทางในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวไปบ้างแล้วก็ตาม แต่การศึกษาเพื่อให้ทราบว่า ผู้ป่วยที่ได้รับการส่งไปรักษาต่อยังสถานบริการสาธารณสุขระดับสูงขึ้นไป ไปรับการรักษาครบถ้วนมากน้อยเพียงใด และมีปัจจัยอะไรบ้างที่เป็นอุปสรรคซึ่งจะเป็นแนวทางในการพัฒนาระบบส่งต่อให้สามารถตอบสนองต่อความจำเป็นของผู้ป่วยได้อย่างแท้จริง
Copyright ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์
ฉบับเต็ม
Thumbnail
ชื่อ: hs1054.pdf
ขนาด: 222.5Kb
รูปแบบ: PDF
ดาวน์โหลด

คู่มือการใช้งาน
(* หากไม่สามารถดาวน์โหลดได้)

จำนวนดาวน์โหลด:
วันนี้: 0
เดือนนี้: 0
ปีงบประมาณนี้: 9
ปีพุทธศักราชนี้: 6
รวมทั้งหมด: 158
 

 
 


 
 
แสดงรายการชิ้นงานแบบเต็ม
คอลเล็คชั่น
  • Research Reports [2469]

    งานวิจัย


DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV
 

 

เลือกตามประเภท (Browse)

ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)ประเภททรัพยากรนี้ปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [619]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [99]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [125]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [158]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1281]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [228]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [20]

DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV