• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
ดูรายการ 
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • ดูรายการ
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • ดูรายการ
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

ประชาสังคมไทยกับกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพ : พัฒนาการของทุนทางสังคมเพื่อการสร้างสังคมแห่งสุขภาวะ

สุวจี กู๊ด; Suvajee Good;
วันที่: 2547
บทคัดย่อ
แนวคิดและกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพในสังคมไทย ทําให้เกิดกระบวนทัศน์ใหม่ต่อการจัดการและดําเนินการในการสาธารณสุข ที่จะต้องคิดถึงสุขภาพในมิติใหม่ ที่เป็นทั้งเรื่องกาย จิตใจ สังคม และ จิตวิญญาณ/ปัญญา และเน้นไปที่การสร้างสุขภาพด้วยการมีส่วนร่วมจากภาคส่วนต่างๆ ทั้งในและนอกระบบสาธารณสุขในปัจจุบัน จากหลักการและแนวคิดดังกล่าว ทําให้กระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพเริ่มต้นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมจากผู้เกี่ยวข้องหลายส่วน ทั้งผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์ สาธารณสุข นักวิชาการ ข้าราชการ นักการเมือง สถาบันเอกชน และองค์กรภาคประชาชน หรือประชาสังคม ซึ่งร่วมดําเนินการทั้งในการยกร่างกรอบความคิดของการปฏิรูป การร่างพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ การสร้างภาคีเครือข่ายทั่วประเทศเพื่อผลักดันร่างพระราชบัญญัติให้เกิดเป็นธรรมนูญสุขภาพแก่คนไทย และเพื่อการสร้างสุขภาวะในสังคมโดยรวม ประชาสังคมเป็นทุนทางสังคมหนึ่ง ที่สําคัญต่อการขับเคลื่อนกระบวนการปฏิรูป ซึ่งงานเขียนฉบับนี้พยายามสังเคราะห์ปรากฏการณ์ของการมีส่วนร่วมในเฉพาะภาคประชาสังคมในกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพ และเปิดประเด็นสําคัญ เฉพาะส่วนที่จะมีประโยชน์ต่อการวาง พันธกิจและวิสัยทัศน์สําหรับการจัดการองค์ความรู้วิจัย และ/หรือ จัดระบบสุขภาพที่พึงประสงค์ในอนาคต ข้อเขียนนี้คงมิอาจจะเป็นข้อสรุปหรือยุติปัญหาข้อถกเถียงทางวิชาการหรือทางทฤษฎีของการมีส่วนร่วม หรือ ทฤษฎีประชาสังคมแต่อย่างใด ข้อเขียนนี้เป็นเพียงการเสนอแนวทางให้เห็นบริบทของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น มุมมองที่สะท้อนการวางระบบปฏิรูปตามหลักการของการปฏิรูประบบสุขภาพ และความคาดหวังที่ภาคประชาสังคมมีต่อระบบสุขภาพที่เขาได้รับทราบ เรียนรู้จากการมีส่วนร่วมในกระบวนการปฏิรูปนี้เท่านั้น
Copyright ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์
ฉบับเต็ม
Thumbnail
ชื่อ: hs1114.pdf
ขนาด: 249.9Kb
รูปแบบ: PDF
ดาวน์โหลด

คู่มือการใช้งาน
(* หากไม่สามารถดาวน์โหลดได้)

จำนวนดาวน์โหลด:
วันนี้: 0
เดือนนี้: 0
ปีงบประมาณนี้: 0
ปีพุทธศักราชนี้: 0
รวมทั้งหมด: 144
 

 
 


 
 
แสดงรายการชิ้นงานแบบเต็ม
คอลเล็คชั่น
  • Research Reports [2469]

    งานวิจัย

ชิ้นงานที่เกี่ยวข้อง

แสดงชิ้นที่เกี่ยวข้องโดย ชื่อเรื่อง ผู้แต่ง ผู้สร้าง และหัวเรื่อง

  • ความเสมอภาคในมุมมองของผู้ชี้นำทางสังคม : กรณีพระนักวิชาการทางพุทธศาสนาในสังคมไทย 

    อำนวย พิรุณสาร; Aamnuay Pirunsan (สถาบันวิจัยระบบสาธาณสุข, 2549)
    จากรายงานผลการวิจัยเรื่อง “ความเสมอภาค ในมุมมองของผู้ชี้นําทางสังคม : กรณีศึกษานักบวช (พระ) นักวิชาการทางพุทธศาสนาในสังคมไทย” พบว่า หลักคําสอน หลักปฏิบัติของพุทธศาสนา แม้จะเป็นหลักคําสอน และหลักปฏิบัติเพื่อมุ่งเน้นจุดมุ่ ...
  • ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการส่งเงินสมทบจนเกิดสิทธิของผู้ประกันตนในระบบประกันสังคมตามมาตรา 40: กรณีการเกิดสิทธิขอรับประโยชน์ทดแทนการขาดรายได้เมื่อประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย 

    สายชล คล้อยเอี่ยม; Saichon Kloyiam; พิสิฐ ศรีรัตนวงศ์; Phisit Srirattanawong; ณภูมิ สุวรรณภูมิ; Napoom Suwannapoom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
    การศึกษาโดยการสังเกตเชิงวิเคราะห์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อการส่งเงินสมทบจนเกิดสิทธิขอรับประโยชน์ทดแทนการขาดรายได้กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยของผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ที่เข้าสู่ระบบประกันสังคม ...
  • พฤติกรรมการขอรับประโยชน์ทดแทนของผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ที่ประกอบอาชีพขับรถรับจ้างในภาคการขนส่ง: การวิเคราะห์จากฐานข้อมูลผู้ประกันตน ของสำนักงานประกันสังคม ระหว่างปี 2561–2563 

    สายชล คล้อยเอี่ยม; Saichon Kloyiam; พิสิฐ ศรีรัตนวงศ์; Phisit Srirattanawong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
    การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการขอรับประโยชน์ทดแทนของผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ที่ประกอบอาชีพขับรถรับจ้างในภาคการขนส่งที่อาจเป็นภาพสะท้อนแนวโน้มการใช้บริการประกันสังคมของแรงงานแพลตฟอร์มที่มีแนวโน้มเป็นที่นิยมข ...

DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV
 

 

เลือกตามประเภท (Browse)

ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)ประเภททรัพยากรนี้ปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [619]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [99]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [125]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [158]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1281]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [228]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [20]

DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV