สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
Browse by
Creative Commond (CC BY-NC-SA 3.0 TH)
Collections in Health Systems Research Institute
-
Annual Reports [20]
รายงานประจำปี -
Articles [1248]
บทความวิชาการ -
Clippings/News [100]
กฤตภาค/ข่าว -
Documents/Pocket Books [578]
เอกสารเผยแพร่/พ็อกเกตบุ๊ก -
Photo [65]
รูปภาพ -
Presentations [825]
เอกสารนำเสนอประกอบการประชุม -
Recommended Items [8]
งานวิจัยแนะนำ -
Research Reports [2073]
งานวิจัย -
VDO [1]
วิดีโอ
Recent Submissions
-
วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2565
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2565 ประกอบด้วย บทบรรณาธิการ เรื่อง สถานการณ์โควิด-19 ที่ท้าทายระบบสุขภาพปฐมภูมิไทย โดย ศุภสิทธิ์ พรรณนารุโณทัย นิพนธ์ต้นฉบับ จำนวน 8 บทความ ได้แก่ 1) ... -
การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโควิด-19 ในชุมชนโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)เป็นการวิจัยเก็บข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อถอดบทเรียนการดำเนินงาน เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคโควิด-19 ในชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและเพื่อสังเคราะห์ข้อเสน ... -
การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายและแนวทางปฏิบัติในการตรวจทางชีวโมเลกุลเพื่อแยกเชื้อไวรัสที่มีความสามารถในการแพร่เชื้อได้ออกจากซากเชื้อไวรัสโคโรนาซาร์-2
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)การตรวจหาสารพันธุกรรมของไวรัสโคโรนาซาร์โควี-2 ตามที่องค์การอนามัยโลกแนะนำ คือ วิธี real-time PCR แต่วิธีการตรวจดังกล่าวไม่สามารถแยกเชื้อเป็นกับซากเชื้อออกจากกันได้ คณะผู้วิจัยได้พัฒนาการออกแบบการตรวจวัดปริมาณสารพันธุกรรม ... -
สถานการณ์โควิด-19 ที่ท้าทายระบบสุขภาพปฐมภูมิไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)แล้วการระบาดของโรคโควิด19- ระดับโลกที่สร้างระเบียบวิถีใหม่ก็เปลี่ยนผ่านเข้าสู่วาระโรคประจำถิ่น การเขย่าโลกอย่างแรงทำให้คนทั่วโลกเกือบ 550 ล้านคนรายงานว่าป่วย 6.5 ล้านคนตาย และรับวัคซีนเกือบ 12,000 ล้านโด๊สพร้อมๆ ... -
สถานการณ์ระบบสุขภาพที่พึงประสงค์ตามธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ: สาระหมวดการสร้างเสริมสุขภาพ และหมวดการป้องกันและควบคุมโรคและปัจจัยคุกคามสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550 มาตรา 27(3) บัญญัติให้สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ สำรวจ ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ รวมทั้งสถานการณ์ของระบบสุขภาพ เพื่อให้เกิดการดำเนินการตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 ... -
การประชุมสมัชชาอนามัยโลกแบบออนไลน์ครั้งแรกในประวัติศาสตร์
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทั่วโลก องค์การอนามัยโลกจึงจัดการประชุมสมัชชาอนามัยโลก สมัยที่ 73 แบบออนไลน์เป็นครั้งแรก การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาทบทวนการจัดประชุมแบบออนไลน์แ ... -
ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการส่งเงินสมทบจนเกิดสิทธิของผู้ประกันตนในระบบประกันสังคมตามมาตรา 40: กรณีการเกิดสิทธิขอรับประโยชน์ทดแทนการขาดรายได้เมื่อประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)การศึกษาโดยการสังเกตเชิงวิเคราะห์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อการส่งเงินสมทบจนเกิดสิทธิขอรับประโยชน์ทดแทนการขาดรายได้กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยของผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ที่เข้าสู่ระบบประกันสังคม ... -
การทบทวนข้อแนะนำเชิงนโยบายด้านอาหารและโภชนาการในโรงเรียนจากองค์การระหว่างประเทศและการดำเนินงานของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนข้อแนะนำเชิงนโยบายด้านอาหารและโภชนาการในโรงเรียนจากองค์การระหว่างประเทศและการดำเนินงานของประเทศไทย ศึกษาโดยใช้วิธีการทบทวนเอกสารเครื่องมือนโยบายจากองค์การระหว่างประเทศ ได้แก่ คณะมนตรีสิ ... -
การประยุกต์ใช้เกณฑ์ราคาประกอบเกณฑ์อื่นเพื่อการจัดซื้อยาภาครัฐ: กรณีศึกษาโรงพยาบาลนำร่อง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา และมีผลบังคับใช้กับหน่วยงานของรัฐตั้งแต่วันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2560 ทำให้การจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์นอกจากจะพิจารณาเกณฑ์ราคา ยังสามารถพิ ... -
การประเมินการดำเนินงานระยะครึ่งแผนตามแผนยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)ในปี พ.ศ. 2559 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบต่อ “แผนยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564” ซึ่งถือเป็นแผนยุทธศาสตร์ฉบับแรกของประเทศไทยที่มีขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาการดื้อยาต้านจุลชีพเป็นการเฉพาะ และต่อมาในปี ... -
ผลกระทบด้านสุขภาพจากสถานการณ์ระบาดของโควิด-19 ต่อผู้มีความบกพร่องทางการเห็นในเขตกรุงเทพมหานคร
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) สร้างผลกระทบต่อสุขภาพและความเป็นอยู่ของประชาชนโดยเฉพาะในกลุ่มเปราะบาง การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบด้านสุขภาพจากมาตรการทางสาธารณสุขในสถานการณ์การระบาดโรคโควิด-19 ... -
ความปลอดภัยและผลการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันหลังการได้รับวัคซีนโควิด 19 ด้วยการฉีดเข้าในผิวหนัง ในอาสาสมัครที่ได้รับวัคซีนเข็มแรก และที่ได้รับวัคซีนกระตุ้น
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)เนื่องด้วยพบการระบาดในประเทศไทยในหลายระลอก การนำเข้าวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ในช่วงแรกไม่เพียงพอต่อการกระจายวัคซีนไปยังประชากรทั่วประเทศ การให้วัคซีนด้วยการฉีดเข้าในชั้นผิวหนังจึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง ซึ่งนอกจากจะใช้วัคซี ... -
การใช้ยาฟาวิพิราเวียร์เทียบกับการรักษาแบบประคับประคองในผู้ป่วยโควิด 19 ที่มีอาการไม่หนักและยังไม่มีภาวะปอดอักเสบ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)ยาฟาวิพิราเวียร์ เป็นยาต้านที่มีกลไกออกฤทธิ์ด้วยการยับยั้งเอนไซม์ RNA-dependent RNA polymerase และน่าจะมีประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อโควิด-19 ได้ เนื่องด้วยในสถานการณ์การระบาดของเชื้อมีความเป็นไปได้ว่าจะพบผู้ติดเชื้อมากขึ้นเรื่อยๆ ... -
การศึกษาวิจัยเชิงวิเคราะห์สังเคราะห์สภาพปัญหาจากคำพิพากษาเกี่ยวกับคดีความผิดพลาดทางการแพทย์เพื่อนำไปสู่วิธีระงับข้อพิพาททางการแพทย์ที่เหมาะสมในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาปัญหาเกี่ยวกับการระงับข้อพิพาททางการแพทย์ที่เหมาะสมในประเทศไทย ปัจจุบันปัญหาระหว่างสังคมศาสตร์และวิทยาศาสตร์ทางการแพทย์เป็นศาสตร์คนละศาสตร์ที่ต้องมาหาจุดร่วมกันที่จะหาทางออกเวลาเกิดข้อพิพาท ... -
ความปลอดภัยและผลการกระตุ้นภูมิต้านทาน ในประชากรผู้ใหญ่หลังให้วัคซีนโควิด-19 ชนิดเชื้อตาย (Sinovac) ครบแล้ว 2 เข็ม ด้วยวัคซีนโควิด-19 ชนิดเดียวกันหรือต่างชนิดกัน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-04)การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-2019 (โควิด-19) ได้กลายเป็นปัญหาด้านการดูแลสุขภาพและสาธารณะมีความรุนแรงทั่วโลกนับตั้งแต่เกิดการระบาดครั้งแรกในปลายเดือนธันวาคม 2019 ปัจจุบันมีการใช้วัคซีนโควิด-19 ในหลายประเทศแต่ก็ยั ... -
ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินวิถีใหม่สำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองของโรงพยาบาลรัฐและเอกชนในช่วงการระบาดของ COVID-19
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อ COVID-19 ในประเทศไทยส่งผลต่อการปรับเปลี่ยนระบบบริการสุขภาพทั้งภาครัฐและเอกชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการรักษาพยาบาลฉุกเฉิน โครงการวิจัยระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินวิถีใหม่สำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ... -
การวิจัยและพัฒนาการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ระยะที่ 3 : บทความวิชาการ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)บทความวิชาการ ภายใต้ชุดโครงการวิจัยและพัฒนาการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ระยะที่ 3 -
แนวปฏิบัติทางเภสัชกรรมคลินิกสำหรับการตรวจลักษณะทางพันธุกรรม HLA-B*58:01 เพื่อประกอบการใช้ยา allopurinol ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)การใช้ยาอย่างสมเหตุผลเป็นเรื่องที่มีความสำคัญและส่งผลต่อการใช้ยาอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัยรวมทั้งค่าใช้จ่ายของระบบสุขภาพในการจัดการดูแลผู้ป่วย เภสัชพันธุศาสตร์เป็นความรู้ที่นำข้อมูลทางพันธุกรรมมาใช้สำหรับการดูแลรักษาผู้ป่วย ... -
แนวปฏิบัติทางเภสัชกรรมคลินิกสำหรับการตรวจลักษณะทางพันธุกรรม HLA-B*15:02 เพื่อประกอบการใช้ยา carbamazepine ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)การใช้ยาอย่างสมเหตุผลเป็นเรื่องที่มีความสำคัญและส่งผลต่อการใช้ยาอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัยรวมทั้งค่าใช้จ่ายของระบบสุขภาพในการจัดการดูแลผู้ป่วย เภสัชพันธุศาสตร์เป็นความรู้ที่นำข้อมูลทางพันธุกรรมมาใช้สำหรับการดูแลรักษาผู้ป่วย ... -
การสังเคราะห์หลักฐานเชิงประจักษ์เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อกำหนดชุดสิทธิประโยชน์ของการให้บริการบำบัดทดแทนไตแบบต่อเนื่องสำหรับผู้ป่วยวิกฤตที่มีภาวะไตวายเฉียบพลันในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)ไตวายเฉียบพลันเป็นภาวะที่ไตเกิดการสูญเสียการทำงานลงในช่วงเวลาเป็นชั่วโมงหรือเป็นวัน หากรักษาด้วยยาไม่หาย การบำบัดทดแทนไตจึงเข้ามามีบทบาทสำคัญเพื่อให้ผู้ป่วยมีชีวิตอยู่รอดได้ ซึ่งการบำบัดทดแทนไตในปัจจุบันมีอยู่ด้วยกัน 4 ...