แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

ระดับตะกั่วในเลือดของประชาชนรอบบริเวณโรงงานหลอมตะกั่ว

dc.contributor.authorประสิทธิ์ชัย มั่งจิตรen_US
dc.contributor.authorPrasitchai Mungchiten_US
dc.coverage.spatialสระบุรีen_US
dc.date.accessioned2008-10-02T06:54:47Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T15:55:20Z
dc.date.available2008-10-02T06:54:47Zen_US
dc.date.available2557-04-16T15:55:20Z
dc.date.issued2551en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,1 (ม.ค.-มี.ค. 2551) (ฉบับเสริม 3) : 665-670en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/291en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้เป็นการวิจัยภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับตะกั่วในเลือดของประชาชนที่อยู่อาศัยอยู่ในบริเวณรองโรงงานหลอมตะกั่ว ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล และปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมกับระดับตะกั่วในเลือด โดยสุ่มตัวอย่างจากประชาชนอายุ 20 ปีขึ้นไป ที่อยู่อาศัยในชุมชนบริเวณรอบโรงงานหลอมตะกั่ว ในรัศมี 1 กิโลเมตร หลังคาเรือนละ 1 คน รวม 134 คน กลุ่มตัวอย่างเป็นหญิง 103 คน (ร้อยละ 77) ทำงานเกี่ยวข้องกับสารตะกั่วร้อยละ 12.7 ไม่เกี่ยวข้องกับสารตะกั่วร้อยละ 87.3 อาศัยอยู่ที่บ้านทุกวันร้อยละ 83.6 มีการศึกษาระดับประถมศึกษาร้อยละ 57.5 ระยะทางจากที่พักอาศัยถึงโรงงานไม่เกิน 500 เมตร ร้อยละ 54.5 ดื่มน้ำในภาชนะปิดสนิท ร้อยละ 71.6 การศึกษาพบระดับตะกั่วในเม็ดเลือดกลุ่มตัวอย่างเฉลี่ย 12.7 ไมโครกรัม/เดซิลิตร ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับตะกั่วในเลือดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (ค่าพี<0.05) ได้แก่ การศึกษา. ระยะห่างจากบ้านถึงโรงงาน, ที่พักอาศัยของประชาชน, การเลือกแหล่งน้ำดื่ม และให้ความรู้แก่ประชาชน เพื่อป้องกันปัญหาสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นen_US
dc.format.extent198132 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleระดับตะกั่วในเลือดของประชาชนรอบบริเวณโรงงานหลอมตะกั่วen_US
dc.title.alternativeLead Levels in the Blood of Residents Living in the Vicinity of a Lead Smelteren_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThis cross-sectional study was conducted to determine the lead levels in the blood of people living within 1 kilometer of a lead smelter. The subjects included were 134 residents aged 20 years and older, randomly selected, one each from the households. Among them, 103 (77%) were female, 12.7 per cent had occupational exposure to lead, 83.6 per cent spent their time at home seven days a week, 57.5 percent had a primary education, 54.5 percent lived within 500 meters of the smelter, and 71.6 per cent drank water from sealed containers. The average blood lead level was 12.7 micrograms/deciliter. Factors which were statistically and significantly associated with blood lead levels were education level, distance from the smelter and source of drinking water. The results of this study could be used to locate the hazardous zone surrounding the smelter, to select safer sources of drinking water and to educate residents at risk in order to prevent future health hazardsen_US
dc.subject.keywordตะกั่วในเลือดen_US
dc.subject.keywordโรงหลอดตะกั่วen_US
dc.subject.keywordLead Smelteren_US
dc.subject.keywordBlood Lead Levelen_US
.custom.citationประสิทธิ์ชัย มั่งจิตร and Prasitchai Mungchit. "ระดับตะกั่วในเลือดของประชาชนรอบบริเวณโรงงานหลอมตะกั่ว." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/291">http://hdl.handle.net/11228/291</a>.
.custom.total_download894
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month6
.custom.downloaded_this_year102
.custom.downloaded_fiscal_year11

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v2n1 ...
ขนาด: 197.6Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย