Now showing items 507-526 of 1344

    • ข้อเสนอเพื่อการปฏิรูปกฎหมายการจำกัดการเข้าถึงผลิตภัณฑ์ยาสูบของเยาวชนไทย 

      จักรพันธ์ เพ็ชรภูมิ; Chakkraphan Phetphum (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-06)
      การใช้กระบวนการทางกฎหมายเพื่อปกป้องและคุ้มครองเยาวชนไม่ให้เข้าถึงผลิตภัณฑ์ยาสูบได้โดยง่ายเป็นหนึ่งในภารกิจสำคัญระดับชาติ ซึ่งที่ผ่านมามีข้อเท็จจริงบ่งชี้ว่ายังไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ ...
    • ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายด้านกฎหมายเพื่อขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาพและลดปัจจัยเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในประชาชนวัยทำงาน 

      ฉัฐญาณ์ วงศ์รัฐนันท์; Chathaya Wongrathanandha; สุมนมาลย์ สิงหะ; Sumonmarn Singha (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)
      โรคไม่ติดต่อเรื้อรังจัดเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของประชากรวัยทำงาน การสร้างเสริมสุขภาพในสถานประกอบการนับเป็นช่องทางสำคัญที่จะสามารถเข้าถึงคนกลุ่มนี้ได้ จึงจำเป็นต้องหาวิธีส่งเสริมให้มากขึ้น วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ คือ ...
    • ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของคนไร้รัฐ/ไร้สัญชาติ 

      ดรุณี ไพศาลพาณิชย์กุล; Darunee Paisanpanichkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      ท่ามกลางการตีความเพื่อ (กีด)กันมนุษย์ไร้รัฐ (หรือไร้เลข 13 หลัก)/ไร้สัญชาติ ออกจากการเป็นผู้ทรงสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ใน พ.ศ.2551 โดยการสนับสนุนของสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย หรือ สวปก. ...
    • ข้อโต้แย้งเกี่ยวกับประสิทธิผลของกลูโคซามีน 

      นพคุณ ธรรมธัชอารี; Noppakun Thammatacharee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-06)
      การทบทวนนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลและความคุ้มค่าของการใช้กลูโคซามีนในระบบสุขภาพ ซึ่งมีการใช้กันอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะในระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ โดยข้อบ่งใช้ที่ได้ขึ้นทะเบียนไว้คือ ใช้ในการรักษาโรค ...
    • คนงานก่อสร้างหญิงอีสาน 

      ศิริพร จิรวัฒน์กุล (2539)
      อุบัติเหตุเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญในชีวิตการทำงานของคนงานก่อสร้างหญิง และการทำงานแบกหามของหนักก็ก่อให้เกิดอาการผิดปกติในบางส่วนของร่างกายเป็นประจำ เช่น เจ็บปวดหน้าอก ท้องน้อย มดลูก ประจำเดือนมาไม่ปกติ ซึ่งส่วนใหญ่จะรักษาเ ...
    • คนไทยมีกิจกรรมทางกายเพียงพอตามเกณฑ์หรือไม่ : ข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 

      นุชราภรณ์ เลี้ยงรื่นรมย์; Nucharapon Liangruenrom; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; วิชชุกร สุริยะวงศ์ไพศาล; Wichukorn Suriyawongpaisan; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ (adequate physical activity level) ในภาพรวมและจำแนกตามกลุ่มประชากรย่อยของประชากรไทยอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป จากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ ปี พ.ศ. 2558 ...
    • คนไทยใช้พลังงานในกิจกรรมทางกายและพฤติกรรมเนือยนิ่งเท่าไร: ข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; นุชราภรณ์ เลี้ยงรื่นรมย์; Nucharapon Liangruenrom; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; วิชชุกร สุริยะวงศ์ไพศาล; Wichukorn Suriyawongpaisan; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพลังงานที่ใช้ในกิจกรรมทางกายระดับปานกลางและหนักและพฤติกรรมเนือยนิ่งของประชากรไทยทั้งประเทศ โดยจำแนกพลังงานที่ใช้ตามกลุ่มกิจกรรม ได้แก่ การทำงาน การเดินทาง นันทนาการ และพฤติกรรมเนือยนิ่ง ...
    • คลังเลือด 

      สมพล พงศ์ไทย; สมชัย บวรกิตติ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      blood bank มักถูกบัญญัติเป็นคำไทยว่า ธนาคารเลือด แต่มีผู้บัญญัติว่า คลังเลือด เป็นศัพท์บัญญัติที่ถูกต้องกว่า โดยให้เหตุผลว่า ธนาคาร น. (ธน+อคาร) (ธน, ธน- น. ทรัพย์สิน) ซึ่งหมายถึงนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมาย ฯลฯ ...
    • คลื่นลูกที่ 3 ของการปฏิรูประบบบริการสุขภาพในประเทศไทย 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การปฏิรูประบบบริการสุขภาพของประเทศไทยได้ก้าวสู่ระยะที่สาม หลังจากประสบความสำเร็จในการขยายความครอบคลุมสถานพยาบาลไปทั่วประเทศในระยะที่หนึ่ง และการปฏิรูประบบการเงินการคลังจนมีระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในระยะที่สอง ...
    • ความกันดารของพื้นที่ : หลักเกณฑ์การพิจารณา 

      ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย; ณิชากร ศิริกนกวิไล; พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์; พินิจ ฟ้าอำนวยผล; Kwanpracha Chiangchaisakulthai; Nichakorn Sirikanokvilai; Pongpisut Jongudomsuk; Somsak Chunharas; Pinij Fahamnuaypol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-09)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาหลักเกณฑ์และแนวทางการกำหนดความกันดารของพื้นที่ระดับอำเภอ เพื่อใช้อ้างอิงประกอบการจ่ายค่าตอบแทน “เบี้ยเลี้ยงเหมาจ่าย” แก่บุคลากรสาธารณสุข ทั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายงานข้อเสนอการปรับ ...
    • ความครบถ้วนและความถูกต้องของชุดข้อมูลมาตรฐาน 52 แฟ้ม เพื่อใช้เป็นแหล่งข้อมูลสำหรับตัวชี้วัดการดูแลสุขภาพแบบมุ่งเน้นคุณค่าในกลุ่มโรคเบาหวาน 

      สุวภัทร วิชานุวัฒน์; Suwapat Vichanuwat; จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)
      การพัฒนาระบบสารสนเทศแบบบูรณาการ ประกอบด้วย การลงทะเบียนและการสร้างแหล่งเก็บข้อมูลเพื่อใช้ประโยชน์ร่วมกัน ระบบการใช้ประโยชน์สารสนเทศเป็นประเด็นหนึ่งของกรอบแนวความคิดการบริการแบบมุ่งเน้นคุณค่า (value-based healthcare) ...
    • ความครอบคลุมการรับบริการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในเด็กอายุ 0-5 ปี จังหวัดลพบุรีปี 2548 

      พิสิฐ พรหมคำ; Pisit Phromkum (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษาความครอบคลุมการรับบริการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในเด็กอายุ 0-5 ปี จังหวัดลพบุรี โดยการสำรวจภาคตัดขวาง ประชากรเป้าหมาย คือเด็กอายุ 0-5 ปี จำนวน 173 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ...
    • ความครอบคลุมอย่างมีประสิทธิผลและการประยุกต์ใช้ในบริบทประเทศไทย 

      วรณัน วิทยาพิภพสกุล; Woranan Witthayapipopsakul; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; อณิกา อิสลาม มาแชล; Aniqa Islam Marshall; สมธนึก โชติช่วงฉัตรชัย; Somtanuek Chotchoungchatchai; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      ความครอบคลุมอย่างมีประสิทธิผล (effective coverage) เป็นการต่อยอดการวัดความครอบคลุมของบริการสุขภาพที่ใช้กันอย่างแพร่หลายมาแต่เดิมโดยคำนึงถึงคุณภาพและประโยชน์ของบริการเหล่านั้นร่วมด้วย ในช่วงยี่สิบปีที่ผ่านมา องค์การอนามัย ...
    • ความคาดหวังของผู้อำนวยการโรงพยาบาลชุมชนในเขตสุขภาพที่ 2 ต่อหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 

      พันธิตรา สิงห์เขียว; Pantitra Singkheaw; ศิริเกษม ศิริลักษณ์; Sirikasem Sirilak; กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; Krit Pongpirul; สุภาวดี มากะนัดถ์; Supawadee Makanut; เสาวนาถ สันติชาติ; Saowanat Santichat; อารยา ชัยช่อฟ้า; Araya Chaichofar (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-12)
      ภารกิจหลักข้อหนึ่งของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร คือ การผลิตบัณฑิตแพทย์ในโครงการผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบท ซึ่งรับนักเรียนที่มีภูมิลำเนาใน 5 จังหวัดของเขตสุขภาพที่ 2 จำนวน 145 คนต่อปี เมื่อสำเร็จการศึกษาจะกลับไปปฏิบั ...
    • ความคาดหวังของเกษตรกรต่อการพัฒนาอาชีพการเกษตรแบบยั่งยืน : มุมมองด้านสุขภาพ 

      รักประชา ธิศาเวช; Rakpracha Thisawech (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความคาดหวังของเกษตรกรที่มีต่อการพัฒนาอาชีพการเกษตรแบบยั่งยืน ปกป้องทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ลดผลกระทบสารเคมี และเป็นอาชีพเกษตรผลิตอาหารปลอดภัย และสร้างสุขภาวะทางสังคม และสติปัญญา ...
    • ความคิดเห็นของทีมสุขภาพและประชาชนต่อบริการสุขภาพดีเริ่มที่บ้านและการสร้างเสริมสุขภาพในชุมชนแบบเศรษฐกิจพอเพียง 

      กสิวัฒน์ ศรีประดิษฐ์; Kasiwat Sripradit; สุภัสสร วัฒนกิจ; Supussorn Wattanakit; เรวัตร์ ทองเหลือง; Rawat Tongleung (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การวิจัยโดยการสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับบริการสุขภาพดีเริ่มที่บ้านเป็นบริการสุขภาพเศรษฐกิจพอเพียง ของเจ้าหน้าที่ทีมสุขภาพผู้ให้บริการ และประชาชนผู้รับบริการสุขภาพดีเริ่มที่บ้าน โดยเลือกกลุ่มตัวอย่าง เจ้าหน้าที่ทีมสุขภาพผู ...
    • ความคิดเห็นของบุคลากรสาธารณสุขต่อยาจากสมุนไพรและนโยบายการส่งเสริมการใช้ยาจากสมุนไพรในสถานบริการสาธารณสุข 

      คัคนางค์ โตสงวน; ณัฏฐิญา ค้าผล; มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; เนติ สุขสมบูรณ์; วันทนีย์ กุลเพ็ง; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Kakanang Tosanguan; Nattiya Kapol; Montarat Thavorncharoensap; Neti Suksomboon; Wantanee Kulpeng; Sripen Tantivess; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-12)
      ประเทศไทยมีนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการสนับสนุนการใช้ยาจากสมุนไพรมาเป็นระยะเวลานานแต่มูลค่าและปริมาณการใช้ยาจากสมุนไพรในสถานพยาบาลก็ยังไม่บรรลุเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้ ในการจะทำให้นโยบายประสบความสำเร็จนั้นมีความจำเป็นอย่างยิ่ ...
    • ความคิดเห็นของผู้ให้บริการและผู้รับบริการที่มีต่อการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัด 

      กฤษฎา เจริญรุ่งเรืองชัย 1; Kridsada Chareonrungrueangchai 1; ชนิดา เอกอัครรุ่งโรจน์ 2; Chanida Ekakkararungroj 2; ชญาพัช ราชาตัน 2; Chayapat Rachatan 2; เฌอริลิณญ์ ประทุมสุวรรณ์ 2; Sherilyn Pratumsuwan 2; ธนายุต เศรณีโสภณ 2; Thanayut Saeraneesophon 2; ณชวิศ กิตติบวรดิฐ 2; Nachawish Kittibovorndit 2; ยศ ตีระวัฒนานนท์ 2; Yot Teerawattananon 2 (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจความคิดเห็นของผู้ให้บริการ และประชาชนในพื้นที่ที่มีการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ไปยังองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) ในระยะ 3 เดือนแรก โดยสำรวจความคิดเห็นผ่านการตอบแบบ ...
    • ความคิดเห็นของเภสัชกรต่อระดับความสามารถของตนเองในงานดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองตามความคาดหวังของทีมสหสาขาวิชาชีพ 

      ศิริทัศน์ กระดานพล; Siritat Kradanpol; ภานุพัฒน์ พุ่มพฤกษ์; Panoopat Poompruek (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-03)
      การศึกษานี้เป็นการศึกษาเชิงสำรวจ โดยแบ่งการศึกษาเป็น 2 ระยะ โดยระยะที่ 1 เพื่อศึกษาความคาดหวังของทีมสหสาขาวิชาชีพต่อบทบาทและคุณลักษณะของเภสัชกรในงาน palliative care ด้วยการสัมภาษณ์สมาชิกในทีม palliative care ที่คัดเลือกแ ...
    • ความคุ้มค่าของการตรวจคัดกรองโรคไวรัสตับอักเสบบีในประเทศไทย 

      นริสา ตัณฑัยย์; Narisa Tantai; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; Pitsaphun Werayingyong; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)
      โรคไวรัสตับอักเสบบีพบได้บ่อยในประชากรไทย เป็นสาเหตุสำคัญของตับแข็ง ตับวาย มะเร็งตับ ส่งผลต่อ คุณภาพชีวิต ค่าใช้จ่าย และทำให้ชีวิตสั้นลง ปัจจุบันไม่มีแนวทางคัดกรองระดับประชากรที่ชัดเจนและไม่มีการวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการ ...