Now showing items 1281-1300 of 1334

    • เรียนรู้วิจัยระบบและนโยบายสุขภาพของไทยและโลกจากโควิด-19 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      การระบาดของโรคโควิด-19 ที่เริ่มจากผู้ป่วยรายแรกที่เมืองอู่ฮั่น ประเทศจีน เดือนธันวาคม ค.ศ. 2019 ส่งออกเข้าสู่ไทยเป็นประเทศแรกเดือนมกราคม ค.ศ. 2020 จนถึงสิ้นปี มีผู้ติดเชื้อ 80 ล้านคน ใน 191 ประเทศ มีผู้เสียชีวิตทั้งสิ้น ...
    • เศรษฐกิจพอเพียงกับโรงพยาบาลชุมชน : ประสบการณ์โรงพยาบาลร้องกวาง 

      สมศักดิ์ โสฬสลิขิต; Somsak Soroslikhit; ประภัสสร ก้อนแก้ว; Praphatsorn Konkaew; อุราพร สิงห์เห; Uraporn Singhhae (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การศึกษาประเมินผลการดำเนินงานภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของโรงพยาบาลร้องกวางเพื่อประกอบการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง และสามารถปรับเปลี่ยนแนวทางการดำเนินงานให้เหมาะสมเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้รับบริการ ผู้ให้บริการและโรงพยาบาล ...
    • เศรษฐศาสตร์การเมืองของการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      โรคไม่ติดต่อหรือ NCDs (non-communicable diseases) เป็นคำที่ใช้เรียกกลุ่มโรคที่ไม่ได้มีสาเหตุมาจากเชื้อโรค (non-infectious diseases) หรือไม่สามารถติดต่อกันได้ ทั้งนี้ โรคที่มารวมกันเป็น NCDs มีลักษณะของสาเหตุต่างๆ ร่วมกันคือ ...
    • เศรษฐศาสตร์การเมืองระหว่างประเทศกับนโยบายการควบคุมยาสูบ: กรณีศึกษาสหภาพยุโรป ฝรั่งเศสและเยอรมนี 

      ภาคภูมิ แสงกนกกุล; Pakpoom Saengkanokkul; วรรณภา ลีระศิริ; Wannapa Leerasiri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      การควบคุมยาสูบเป็นประเด็นหนึ่งในด้านเศรษฐศาสตร์การเมืองระหว่างประเทศ แม้ว่าปัจจุบันจะมีกรอบอนุสัญญาว่าด้วยการควบคุมยาสูบ พ.ศ. 2546 เป็นกลไกในระดับโลกเพื่อควบคุมการระบาดยาสูบ แต่ระดับการควบคุมยาสูบของประเทศยังคงมีความแตกต ...
    • เศรษฐศาสตร์การเมืองเรื่องบุหรี่ 

      สุชาดา ตั้งทางธรรม (2540)
      งานวิจัยเรื่องเศรษฐศาสตร์การเมืองเรื่องบุหรี่นี้ นับเป็นบทความที่หายากและมีคุณค่า น่าชมเชยทั้งสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขผู้ให้ทุนและผู้วิจัยที่ได้วิเคราะห์วิวัฒนาการ และบทบาทของปัจจัยทางเศรษฐกิจและการเมือง รวมทั้งผลกระทบต่ ...
    • เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับระบบสุขภาพ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      เนื้อหาในขอบเขตของเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพนั้นเข้มข้นขึ้นในระยะสิบปีมานี้ มีทั้งส่วนที่เกี่ยวกับการตัดสินใจที่นำไปสู่ความสุขและสุขภาพ จากแนวคิดเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมเชื่อว่า มนุษย์ไม่ได้ตัดสินใจอย่างรอบ ...
    • เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข-กลยุทธ์ใหม่ในการพัฒนาสาธารณสุข 

      สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ; Suwit Wibulpolprasert (2537)
      เศรษฐศาสตร์เป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งสำหรับพัฒนาทางเศรษฐกิจ เศรษฐศาสตร์สาธารณสุขก็เป็นเครื่องมือที่สำคัญอย่างหนึ่งสำหรับการพัฒนาสาธารณสุข ผู้เขียนปูพื้นเรื่องนี้อย่างง่ายๆ โดยอาศัยข้อมูลจริงมาประกอบ แม้ว่าได้เขียนไว้นานพอสมควรแล้ว ...
    • เส้นทางการเจ็บป่วยของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในประเทศไทยและข้อเสนอเชิงเนื้อหาในการพัฒนากลยุทธ์การสื่อสารเพื่อลดจำนวนผู้ป่วยรายใหม่ 

      ภีรกาญจน์ ไค่นุ่นนา; Phirakan Kai-nunna; พนม คลี่ฉายา; Phnom Kleechaya; อรุโณทัย วรรณถาวร; Arunothai Wannataworn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาเส้นทางการเจ็บป่วยของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และ (2) สังเคราะห์ข้อเสนอเชิงเนื้อหาเพื่อพัฒนากลยุทธ์การสื่อสารในการลดผู้ป่วยรายใหม่ ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก ...
    • เส้นทางสู่คุณภาพ 

      งามจิตต์ จันทรสาธิต (2539)
    • เหตุผลที่ควรถอดบุหรี่ออกจากการเจรจาการค้าเสรี 

      ริศาธัญญ์ จรุงศักดิ์เศรษฐ์; นิทัศน์ ศิริโชติรัตน์; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; Risatarn Jarungsuccess; Nithat Sirichotiratana; Siriwan Pitayarangsarit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-09)
      ข้อตกลงการค้าเสรีเกิดขึ้นจากความเชื่อว่า ควรจะปล่อยให้สินค้าที่มีคุณภาพดีกระจายไปทั่วโลกได้อย่างเสรี ปราศจากมาตรการกีดกันต่างๆ เพื่อที่คุณภาพชีวิตของประชาชนจะดีขึ้น และประเทศต่างๆจะมีความมั่งคั่งขึ้น แต่ยาสูบเป็นสินค้าที ...
    • เหตุใดคนเชียงใหม่เมื่อเกิดเจ็บป่วยฉุกเฉิน หรืออุบัติเหตุจึงไม่เรียกใช้บริการการแพทย์ฉุกเฉิน 

      ณัชชา หาญสุทธิเวชกุล; บริบูรณ์ เชนธนากิจ; บวร วิทยชำนาญกุล; Natcha Hansudewechakul; Boriboon Chenthanakij; Borwon Wittayachamnankul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      การเจ็บป่วยฉุกเฉินและอุบัติเหตุเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดความสูญเสียและเป็นสาเหตุการตายอันดับต้นของประชากรไทย การมีระบบการดูแลก่อนถึงโรงพยาบาลที่ดีจะช่วยลดอัตราการสูญเสียได้ กระทรวงสาธารณสุขจึงมีนโยบายให้โรงพยาบาลต่างๆ ...
    • แก๊สเรดอนกับภาวะโลกร้อน 

      ไพฑูรย์ วรรณพงษ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-12)
    • แนวคิดปัจจุบันของการเปิดเผยความผิดพลาดทางการแพทย์ 

      บุญศักดิ์ หาญเทอดสิทธิ์; Boonsak Hanterdsith (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      ในปัจจุบันปัญหาการร้องเรียนและฟ้องร้องแพทย์มีแนวโน้มมากขึ้น สาเหตุนำในการฟ้องร้องหรือร้องเรียนแพทย์นั้นมีจุดเริ่มต้นจากความเสียหายที่ผู้ป่วยหรือญาติได้รับในกระบวนการรักษาพยาบาล โดยมีทั้งความผิดพลาดที่ป้องกันได้และเป็นเหตุสุดวิสัย ...
    • แนวคิดและแนวทางปฏิบัติเพื่อตอบสนองต่อความต้องการด้านสุขภาพของประชากรกลุ่มเปราะบางในประเทศไทย 

      บวรศม ลีระพันธ์; Borwornsom Leerapan; ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paibul Suriyawongpaisal; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat; วิชช์ เกษมทรัพย์; Vijj Kasemsup; นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์; Nawanan Theera-ampornpunt; ฉัตรชัย อิ่มอารมย์; Chatchai Im-Arom; รัศมี ตันศิริสิทธิกุล; Rassamee Tansirisithikul; วิชัย เอกพลากร; Wichai Aekplakorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-12)
      วัตถุประสงค์ : เพื่อถอดบทเรียนจากโครงการพัฒนาสุขภาพในชุมชนซึ่งตอบสนองความต้องการด้านสุขภาพของประชากรกลุ่มเปราะบาง สำหรับนำไปสังเคราะห์ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการพัฒนาระบบสุขภาพสำหรับประชากรกลุ่มเปราะบางในประเทศไทย ...
    • แนวคิดในการควบคุมโรคขาดสารไอโอดีนในประเทศไทย 

      รัชตะ รัชตะนาวิน (2539)
      เป้าหมายการลดอัตราคอพอกในเด็กนักเรียนให้เหลือไม่เกินร้อยละ 5 ภายในปลายปี 2539 ตามแผนการควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน อาจบรรลุผลได้ แต่การกำจัดโรคขาดสารไอโอดีนให้หมดจากประเทศไทย อาจจำเป็นต้องมีการปรับแนวคิดและนโยบายบางจุด ...
    • แนวทางการคัดกรองภาวะโลหิตจางระดับประชากรในประเทศไทย 

      ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; Tanunya Koopitakkajorn; พัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ; Patsri Srisuwan; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ณภัชชา วงศ์ฉายา; Napatcha Wongchaya; สุพัชรินทร์ สุวรรณเกิด; Supatcharin Suwannakerd; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)
      ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กส่งผลกระทบต่อจิตใจ การเคลื่อนไหว และพฤติกรรม โดยเฉพาะในเด็กทารกแรกเกิดจนถึงอายุ ๒ ปี การรักษาด้วยการให้ธาตุเหล็กในภายหลังช่วยให้ระดับธาตุเหล็กเพิ่มขึ้น แต่ความล่าช้าของพัฒนาการยังคงอยู่ ...
    • แนวทางการคัดกรองโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิด Atrial Fibrillation ระดับประชากรในประเทศไทย 

      พัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ; Patsri Srisuwan; ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; Tanunya Koopitakkajorn; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)
      โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิด Atrial Fibrillation (AF) เป็นภาวะที่พบบ่อยที่สุดในภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะทั้งหมด และก่อให้เกิดผลแทรกซ้อนร้ายแรง ปัจจุบันยังไม่มีแนวทางการคัดกรองระดับประชากรในประเทศไทย และไม่มีการวิเคราะห์ถึงประโยชน์ ...
    • แนวทางการคัดกรองโรคหืดระดับประชากรในประเทศไทย 

      พัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ; Patsri Srisuwan; ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; Tanunya Koopitakkajorn; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)
      โรคหืดเป็นโรคที่มีอุบัติการณ์ ความชุกและภาระโรคสูงในประเทศไทย ในปัจจุบันยังไม่มีแนวทางการคัดกรองโรคหืดระดับประชากรในประเทศไทยที่ชัดเจน บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนแนวทางการคัดกรองโรคหืดระดับประชากร โดยแบ่งการดำเนินงานเป็น ...
    • แนวทางการคัดกรองโรคไตอักเสบและนิ่วในไตในประชากรไทย 

      พัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ; Patsri Srisuwan; ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; Tanunya Koopitakkajorn; เดช เกตุฉ่ำ; Det Kedcham; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)
      โรคไตอักเสบและโรคนิ่วในไตเป็นโรคที่พบบ่อยในคนไทยที่อาจก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนเรื้อรังและรุนแรง แต่ยังไม่มีแนวทางคัดกรองระดับประชากรที่ชัดเจน บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอแนวทางการคัดโรคไตอักเสบและโรคนิ่วในไตระดับประ ...
    • แนวทางการดูแลรับรองมาตรฐานโรงพยาบาลสำหรับผู้ประกันตนในโครงการประกันสังคม 

      สมเกียรติ ฉายะศรีวงศ์ (2540)
      การดูแลรับรองมาตรฐานโรงพยาบาล (Accreditation) สำหรับผู้ประกันตนในโครงการประกันสังคม เป็นเรื่องที่เป็นความหวังใหม่ของผู้ประกันตนและสำนักงานประกันสังคมที่จะให้โรงพยาบาลและคลินิกเครือข่ายที่สมัครขึ้นทะเบียนไว้กับสำนักงานประ ...