Now showing items 79-98 of 1334

    • การคลังสุขภาพในระบบสุขภาพปฐมภูมิ: ยกระดับหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      ระบบสุขภาพปฐมภูมิเป็นปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งในการจัดประเภทระบบสุขภาพของประเทศต่างๆ เนื่องจากถ้ามีระบบสุขภาพปฐมภูมิที่ดี ประเทศจะสามารถควบคุมรายจ่ายด้านสุขภาพโดยรวม มีบริการที่มีคุณภาพ ได้ผลลัพธ์ทางสุขภาพสูง รวมทั้งแก้ปัญหา ...
    • การควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประเทศไทย: จากผลการศึกษาต้นทุนความเจ็บป่วยสู่ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย 

      มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; ทิวารัตน์ วุฒิศรัย; พัทธรา ลีฬหวรงค์; นัยนา ประดิษฐ์สิทธิกร; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Montarat Thavorncharoensap; Tivarat Woothisai; Pattara Leelahavarong; Naiyana Praditsitthikorn; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-12)
      ผลจากการทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับต้นทุนความเจ็บป่วยของการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์พบว่าการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ส่งผลกระทบทางเศรษฐกิจเป็นมูลค่ามหาศาล ทั้งนี้ผลกระทบจากการสูญเสียผลิตภาพทั้งจากการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรแล ...
    • การควบคุมราคายา: บทเรียนจากอดีต ข้อค้นพบปัจจุบัน และข้อเสนอสำหรับอนาคต 

      สุพล ลิมวัฒนานนท์; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; พรพิศ ศิลขวุธท์; ภูษิต ประคองสาย; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Supon Limwattananon; Chulaporn Limwattananon; On-anong Waleekhachonloet; Pornpit Silkavute; Phusit Prakongsai; Weerasak Puthasri; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      การควบคุมราคายาเป็นส่วนหนึ่งของการจำกัดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ บทความนี้ทบทวนวิธีควบคุมราคายาในประเทศที่พัฒนาแล้ว วิเคราะห์ประสบการณ์ที่ผ่านมาของประเทศไทยในการควบคุมราคายาภาครัฐ และนำเสนอข้อค้นพบล่าสุดของแผนงานวิจัยราคายา ...
    • การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อในแรงงานต่างชาติ 

      ประชา ภูมิพาณิชย์ (2540)
      การควบคุมจดทะเบียนแรงงานต่างชาติที่ลักลอบเข้ามาทำงานและการควบคุมป้องกันโรคติดต่อแก่แรงงานดังกล่าวยังเป็นเรื่องใหม่ที่ยังขาดการวางแผนจัดระบบและเตรียมความพร้อม การฝึกอบรม การประสานงานและการประชาสัมพันธ์ โดยเฉพาะหน่วยงานภาค ...
    • การคัดกรอง บำบัด รักษาและฟื้นฟูผู้มีปัญหาจากการดื่มสุรา : ช่องว่างภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      สุวรา แก้วนุ้ย; ทักษพล ธรรมรังสี; โศภิต นาสืบ; ประพักตร์ เนรมิตพิทักษ์กุล; Suwara Kaewnuy; Thaksaphon Thamarangsi; Sopit Nasueb; Prapag Neramitpitagkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-12)
      แม้ว่าการให้บริการคัดกรอง บำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้มีความเสี่ยงและมีปัญหาจากการดื่มสุราจะครอบคลุมอยู่ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า แต่ในปัจจุบันประชากรกลุ่มเสี่ยงและผู้มีปัญหาจำนวนมากยังไม่ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสมจากร ...
    • การคัดกรองมะเร็งคอมดลูกในหญิงที่ติดเชื้อเอชไอวี จังหวัดปราจีนบุรี 

      พงศธร สร้อยคีรี; Pongsathorn Soi-kiri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การศึกษานี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาผลการตรวจคัดกรองมะเร็งคอมดลูกในหญิงที่ติดเชื้อเอชไอวีของอำเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา ได้แก่ หญิงสมาชิกชมรมผู้ติดเชื้อเอชไอวีของโรงพยาบาลประจันตคาม จำนวน 34 คน ...
    • การคัดกรองวัณโรคระดับประชากรในประเทศไทย 

      พัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ; ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; ศิตาพร ยังคง; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Patsri Srisuwan; Tanunya Koopitakkajorn; Pritaporn Kingkaew; Sitaporn Youngkong; Sripen Tantivess; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)
      วัณโรคเป็นโรคติดต่อร้ายแรง มีอุบัติการณ์และความชุกสูง ปัจจุบันยังไม่มีแนวทางการคัดกรองระดับประชากรในประเทศไทย เว้นแต่การตรวจภาพรังสีทรวงอกที่บรรจุในโปรแกรมการตรวจสุขภาพประจำปีของสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ ...
    • การคัดกรองโรคมะเร็งท่อน้ำดี ในประชากรไทย 

      สุธาสินี คำหลวง; Suthasinee Kumluang; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)
      โรคมะเร็งท่อน้ำดีเป็นโรคที่พบมากในประชากรไทย โดยมีอุบัติการณ์สูงเมื่อเทียบกับประเทศอื่น โดยเฉพาะในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สาเหตุส่วนใหญ่มาจากการติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับ ปัจจุบันยังขาดหลักฐานเชิงประจักษ์ถึงประโยชน์ของการคัดกรอ ...
    • การคาดการณ์กำลังคนทางด้านอาชีพสัตวแพทย์ ปี พ.ศ. 2568 

      ศุกลรัตน์ บุณยยาตรา; Sukolrat Boonyayatra; สุวิชา เกษมสุวรรณ; Suwicha Kasemsuwan; วลาสินี มูลอามาตย์; Walasinee Moonarmart; กนกอร เอื้อเกษมสิน; Ganokon Urkasemsin; ภาณุวัฒน์ แย้มสกุล; Panuwat Yamsakul; ศิริพร เพียรสุขมณี; Siriporn Peansukmanee; ปริวรรต พูลเพิ่ม; Pariwat Poolperm; ชัยกร ฐิติญาณพร; Chaiyakorn Thitiyanaporn; ชูชาติ กมลเลิศ; Chuchart Kamollerd; กัลยา เจือจันทร์; Kanlaya Chauchan; เจษฎา จิวากานนท์; Jatesada Jiwakanon; พงษ์ศิวะ โสตถิพันธุ์; Pongsiwa Sotthibandhu; อภิรดี อินทรพักตร์; Apiradee Intarapuk; พรรณนิการ ชัยชนะศักดิ์; Pannigan Chaichanasak; ทนงศักดิ์ มะมม; Thanongsak Mamom; อุตรา จามีกร; Uttra Jamikorn; เกรียงยศ สัจจเจริญพงษ์; Kriengyot Sajjarengpong; พรชลิต อัศวชีพ; Pornchalit Assavacheep; ชัยวุฒิ ตั้งสมชัย; Chaiwut Tangsomchai; มานัดถุ์ คำกอง; Manad Khamkon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      อาชีพสัตวแพทย์เป็นอาชีพหลักที่ให้บริการด้านสุขภาพสัตว์ บริการทางด้านสัตวแพทย์นั้น ไม่เพียงแต่จะส่งผลต่อความเป็นอยู่ของสัตว์เท่านั้น แต่ยังส่งผลต่อสุขภาพของมนุษย์ ผ่านบทบาทที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยของอาหารและการควบคุมโร ...
    • การคาดการณ์กำลังคนสำหรับการวางแผนอัตรากำลังเภสัชกรในประเทศไทย 

      พิศาลสิทธ์ ธนวุฒิ; Pisansit Thanawut; นิลวรรณ อยู่ภักดี; Nilawan Upakdee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-09)
      บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อกล่าวถึงวิธีการคาดการณ์กำลังคน และการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับอัตรากำลังเภสัชกรที่พบในประเทศไทยและต่างประเทศ วิธีการกำหนดอัตรากำลังคนเป็นส่วนสำคัญของการคาดการณ์กำลังคน ซึ่งมีหลายวิธี เช่น ...
    • การคาดการณ์กำลังคนในกลุ่มทันตบุคลากรของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2569 

      วรารัตน์ ใจชื่น; Wararat Jaichuen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      ประเทศไทยมีการประมาณการความต้องการทันตบุคลากรหลายครั้ง วิธีการหลักที่ใช้ประมาณการความต้องการทันตแพทย์อ้างอิงจากสภาวะทันตสุขภาพของประชากรแล้วนำมาแปลงเป็นบริการที่ประชากรควรได้รับในมุมมองของทันตแพทย์ และยังไม่พบการประมาณการฯ ...
    • การคาดการณ์ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพ: ฐานที่สำคัญในการวางแผนกำลังคน 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; Nonglak Pagaiya (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      การวางแผนกำลังคนด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพต้องอาศัยข้อมูลเชิงประจักษ์สำหรับรองรับการตัดสินใจ ดังนั้นการคาดการณ์ความต้องการกำลังคนที่สอดคล้องกับระบบสุขภาพที่พึงประสงค์จึงเป็นสิ่งจำเป็น เพื่อจะนำไปสู่การวิเคราะห์ปัญหาความไ ...
    • การคาดการณ์อัตรากำลังเภสัชกรสาขาเภสัชกรรมโรงพยาบาลใน 20 ปี (พ.ศ. 2558-2578) 

      นิลวรรณ อยู่ภักดี; Nilawan Upakdee; พิศาลสิทธ์ ธนวุฒิ; Pisansit Thanawut (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-03)
      การคาดการณ์อัตรากำลังเภสัชกรเป็นข้อมูลสำคัญในการวางแผนและจัดสรรอัตรากำลังเภสัชกร ประเทศไทยมีเภสัชกรทำงานในสาขาเภสัชกรรมโรงพยาบาลมากที่สุด การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคาดการณ์อัตรากำลังเภสัชกรสาขาเภสัชกรรมโรงพยาบาลใน 20 ...
    • การคาดประมาณการเกิดโรค 

      วิพุธ พูลเจริญ; Wiput Phoolcharoen (2537)
      ความถูกต้องของการตัดสินใจสำหรับเหตุการณ์ในอนาคตขึ้นอยู่กับความแม่นยำของการคาดการณ์หรือการทำนายอนาคต บทความนี้แสดงให้เห็นข้อจำกัดและศักยภาพของการใช้วิธีการต่างๆ สำหรับการคาดการณ์และวิธีการนำไปใช้
    • การจัดกลุ่มงานวิจัยด้านสุขภาพสำหรับประเทศไทย: การทบทวนระบบจัดกลุ่มงานวิจัยสุขภาพใน 5 ประเทศ 

      ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; อินทิรา ยมาภัย; Inthira Yamabhai; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; สุธาสินี คำหลวง; Suthasinee Kumluang; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; Pitsaphun Werayingyong; ธนพร บุษบาวไล; Thanaporn Bussabawalai; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)
      งานวิจัยในสาขาใดๆ ก็ตามควรได้รับการจัดเก็บเป็นหมวดหมู่อย่างเหมาะสม เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการงานวิจัยและการนำไปใช้ประโยชน์ของทั้งนักวิจัย หน่วยงานวิจัยและหน่วยงานให้ทุน รวมถึงประชาชน ปัจจุบันหน่วยงานให้ทุนในประเทศไทย ...
    • การจัดการความรู้กับการทำวิจัยในงานประจำ 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การจัดการความรู้และการวิจัยจากงานประจำ กิจกรรมงานวิจัยจากงานประจำ (routine to research; R2R) สามารถใช้การจัดการความรู้ (knowledge management; KM) เป็นเครื่องมือช่วยให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ได้ โดยจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ...
    • การจัดการความเสี่ยงด้านสุขภาพและความปลอดภัยของแรงงานจากอุตสาหกรรมขนาดเล้กในชนบท กรณีศึกษาโรงงานเฟอร์นิเจอร์ไม้ 

      วิชัย ผลิตนนท์เกียรติ; Vichai Palitnondakiat; เสกสรร อรรควาไสย์; Seksan Akkawasai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การประกอบกิจการอุตสาหกรรมขนาดเล็กในพื้นที่ชนบทมีปัญหาและข้อจำกัดในการเข้าถึงบริการส่งเสริมสุขภาพของรัฐค่อนข้างมาก ประกอบกับมีการนำอุปกรณ์และสารเคมีที่มีความไม่ปลอดภัยสูงมาใช้ในกระบวนการผลิตเป็นจำนวนมาก การศึกษานี้ศึกษาเฉ ...
    • การจัดการนโยบายสาธารณะและปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพของเทศบาลสามระดับในประเทศไทย 

      ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์; Titiporn Tuangratananon; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ธีรพงษ์ คำพุฒ; Teerapong Khamput; นิธิวัชร์ แสงเรือง; Nithiwat Saengruang; หทัยรัตน์ โกษียาภรณ์; Hathairat Kosiyaporn; อานนท์ กุลธรรมานุสรณ์; Anond Kulthanmanusorn; จิราภรณ์ กมลรังสรรค์; Jirapron Kamonrungsan; กิตติพงษ์ ภัสสร; Kittipong Patsorn; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)
      การจัดการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพเป็นการส่งเสริมสุขภาพประชาชนที่ต้นน้ำ โครงสร้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนเอื้อต่อการจัดการปัจจัยทางสังคม ด้วยการกำหนดรูปแบบการจัดการสุขภาพที่เหมาะสมกับประชาชนในพื้นที่ การศึกษานี้มีว ...
    • การจัดการระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิในเขตเมือง กรณีศึกษาจังหวัดนครราชสีมาและจังหวัดบุรีรัมย์ 

      วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; เอนก มุ่งอ้อมกลาง; Anek Mungaomklang; อังคณา สมนัสทวีชัย; Angkana Sommanustweechai; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      จังหวัดนครราชสีมาและจังหวัดบุรีรัมย์เป็นจังหวัดขนาดใหญ่ที่มีโรงพยาบาลศูนย์อยู่ในอำเภอเมืองโรงพยาบาลศูนย์นี้ต้องให้บริการทั้งผู้ป่วยในเขตอำเภอเมือง ในเขตจังหวัด และเขตพื้นที่ของจังหวัดอื่นที่อยู่ใกล้เคียง ทำให้มีภาระมาก ...