Browsing Articles by Subject "ยาต้านจุลชีพ"
Now showing items 1-15 of 15
-
การดื้อยาต้านจุลชีพ : ความสำคัญต่อระบบสุขภาพและแนวทางการควบคุมและป้องกัน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09) -
การประเมินการดำเนินงานระยะครึ่งแผนตามแผนยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)ในปี พ.ศ. 2559 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบต่อ “แผนยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564” ซึ่งถือเป็นแผนยุทธศาสตร์ฉบับแรกของประเทศไทยที่มีขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาการดื้อยาต้านจุลชีพเป็นการเฉพาะ และต่อมาในปี ... -
ความรู้และความตระหนักเรื่องการใช้ยาปฏิชีวนะและเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพของเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานด้านสุขภาพและการจัดการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเป็นอุตสาหกรรมทางการเกษตรที่มีความสำคัญต่อความมั่นคงทางอาหาร และการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศที่มีรายได้ต่ำและรายได้ปานกลาง อย่างไรก็ตาม ในกระบวนการผลิตสัตว์น้ำ เกษตรกรอาจใช้ยาปฏิชี ... -
ความสัมพันธ์ระหว่างการรู้เท่าทันสื่อสุขภาพแบบออนไลน์ การค้นหาข้อมูลข่าวสาร ความรู้ ทัศนคติและการจัดการตนเองเพื่อรักษาโรคติดเชื้อเฉียบพลันในระบบทางหายใจส่วนบนของประชากรไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-09)ถึงแม้ว่าการดำเนินการรณรงค์เพื่อส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในประเทศไทยจะได้เริ่มต้นขับเคลื่อนในระดับประเทศมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 แล้ว แต่ประชากรไทยยังคงมีพฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตุผล สถานการณ์ดังกล่า ... -
จุดเริ่มต้นในการพัฒนาการควบคุมการใช้ยาต้านจุลชีพในพืช
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งในโครงการพัฒนาระบบเฝ้าระวังการบริโภคยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กรมวิชาการเกษตร กรมปศุสัตว์ กรมประมง สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ... -
ซีโรทัยป์และการดื้อยาของเชื้อซัลโมเนลล่าที่แยกได้จากอุจจาระและเลือดของผู้ป่วยจังหวัดตรัง พัทลุง และสงขลา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-06)ซีโรทัยป์ (Serotype) ของเชื้อซัลโมเนลล่า (Salmonella spp.) ที่แยกได้จากอุจจาระและเลือดของผู้ป่วยในโรงพยาบาลภายในจังหวัดตรัง พัทลุงและสงขลาจำนวน ๕๑๗ ตัวอย่าง เป็นเพศหญิง : เพศชาย เท่ากับ ๑ : ๐.๙๘ อายุตั้งแต่แรกเกิดถึง ๘๘ ... -
ผลการดำเนินงานตามนโยบายการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในหญิงคลอดปกติ โรงพยาบาลมหาสารคาม
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-09)ภูมิหลังและเหตุผล: กระทรวงสาธารณสุขกำหนดให้ “การใช้ยาปฏิชีวนะในหญิงคลอดปกติครบกำหนดทางช่องคลอด” เป็นตัวชี้วัดหนึ่งของแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขาการใช้ยาอย่างสมเหตุผล โดยมีเป้าหมายคือ อัตราการใช้ยาปฏิชีวน ... -
ยาปฏิชีวนะ: จากดินสู่ดิน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)การค้นพบเพนนิซิลลินของ Sir Alexander Fleming ที่โรงพยาบาลเซ็นต์แมรี่ กรุงลอนดอน เมื่อปี ค.ศ. 1928 เป็นการเปิดศักราชใหม่ของยาปฏิชีวนะที่ช่วยชีวิตผู้คนจำนวนมากจากโรคติดเชื้อ Streptococcus, Staphylococcus, ไข้กาฬหลังแอ่น คอตีบ ... -
ระบบการเฝ้าระวังความปลอดภัยของสัตว์ที่เป็นอาหารจากการใช้ยาต้านจุลชีพและการป้องกันเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพจากสัตว์สู่มนุษย์ ในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09) -
ระบบและกลไกการเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในมนุษย์ที่เหมาะสมกับประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09) -
วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2565
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2565 ประกอบด้วย บทบรรณาธิการ เรื่อง สถานการณ์โควิด-19 ที่ท้าทายระบบสุขภาพปฐมภูมิไทย โดย ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย นิพนธ์ต้นฉบับ จำนวน 8 บทความ ได้แก่ 1) สถานการณ์ร ... -
สถานการณ์การใช้ยาต้านจุลชีพและความรู้เรื่องยาต้านจุลชีพ: ข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2560
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)ในปัจจุบัน ปัญหาการดื้อยาของเชื้อจุลชีพมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง สาเหตุสำคัญมาจากการใช้ยาต้านจุลชีพที่ไม่เหมาะสม ทั้งการใช้โดยไม่จำเป็นและมากเกินความจำเป็น รวมทั้งใช้ยาต้านจุลชีพอย่างไม่ถูกต้อง ดังนั้น เพื่อเป็นการส ... -
สถานการณ์ปัจจุบันของการเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาในมนุษย์ในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09) -
แบบแผนความไวต่อยาต้านจุลชีพในหลอดทดลองของเชื้อเบอโคลเดอเรีย สูโดมาลิอาย ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)เบอโคลเดอเรีย สูโดมาลีอายคือเชื้อสาเหตุของโรคเมลิออยโดสีส เซฟตาซิดิมเป็นยาที่ถูกเลือกใช้สำหรับรักษาโรคติดเชื้อนี้ แต่อัตราการตายก็พบสูงในพื้นที่ระบาดของโรค การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสืบสวนหาประสิทธิผลของยาปฏิชีวนะในห ... -
แผนการดำเนินงานและความคืบหน้าการจัดระบบและการขับเคลื่อนระบบการป้องกัน ควบคุม และแก้ไขการดื้อยาจุลชีพในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)