Browsing Articles by Subject "หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า"
Now showing items 1-20 of 23
-
HSRI-FORUM ปีที่ 1 ฉบับพิเศษ : ทศวรรษที่ 2 สู่หลักประกันสุขภาพที่เป็นธรรมและยั่งยืน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-05)HSRI Forum เป็นเสมือนพื้นที่แลกเปลี่ยนความรู้แบ่งปัน และถ่ายทอดข้อมูล ข่าวสาร ความ เคลื่อนไหว ผลงานวิจัย กิจกรรมหรือการดำเนินงาน ต่างๆ ของ สวรส. และเครือสถาบัน ตลอดจน สถานการณ์สำคัญที่มีผลกระทบต่อสุขภาวะของ สังคมไทยในขณะนั้น ... -
Patterns of Outpatient Services and Charge for Patients Enrolled in the Universal Health Coverage Scheme
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-03)Background: In 2011, the Universal Health Coverage (UHC), which is a public health insurance scheme, covered approximately 48.3 million (74.3%) of the Thai population. This study aims to examine the patterns of outpatient ... -
การคลังสุขภาพในระบบสุขภาพปฐมภูมิ: ยกระดับหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)ระบบสุขภาพปฐมภูมิเป็นปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งในการจัดประเภทระบบสุขภาพของประเทศต่างๆ เนื่องจากถ้ามีระบบสุขภาพปฐมภูมิที่ดี ประเทศจะสามารถควบคุมรายจ่ายด้านสุขภาพโดยรวม มีบริการที่มีคุณภาพ ได้ผลลัพธ์ทางสุขภาพสูง รวมทั้งแก้ปัญหา ... -
การคัดกรอง บำบัด รักษาและฟื้นฟูผู้มีปัญหาจากการดื่มสุรา : ช่องว่างภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-12)แม้ว่าการให้บริการคัดกรอง บำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้มีความเสี่ยงและมีปัญหาจากการดื่มสุราจะครอบคลุมอยู่ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า แต่ในปัจจุบันประชากรกลุ่มเสี่ยงและผู้มีปัญหาจำนวนมากยังไม่ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสมจากร ... -
การตรวจสอบคุณภาพการให้รหัสโรคสำหรับการจ่ายชดเชยค่าบริการผู้ป่วยในของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-12) -
การประเมินผลกระทบของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในกลุ่มผู้มีรายได้น้อย โดยใช้หลักธรรมาภิบาล
(Health Systems Research Institute, 2554-06)การศึกษานี้มุ่งเน้นการประเมินผลกระทบของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในกลุ่มผู้มีรายได้น้อย โดยใช้หลักสี่ประการของหลักธรรมาภิบาลเป็นตัวชี้วัด ผู้ศึกษาได้สัมภาษณ์ผู้วางแผนและนโยบายระบบสาธารณสุขและตัวแทนผู้ป่วยที่ใช้สิทธิในหลักป ... -
การประเมินผลโครงการพัฒนาระบบงานลงทะเบียนผู้มีสิทธิบัตรทอง : กรณีศึกษาจังหวัดแพร่
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)การประเมินผลโครงการพัฒนาระบบงานลงทะเบียนผู้มีสิทธิบัตรทอง : กรณีศึกษาจังหวัดแพร่ มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1) ศึกษาการดำเนินงานของโครงการเทียบกับแผนที่วางไว้ 2) ศึกษาประสิทธิผลของโครงการ เทียบกับวัตถุประสงค์โครงการที่ตั้งไว้ ... -
การประเมินโครงการพัฒนาระบบบริการตติยภูมิชั้นสูงศูนย์มะเร็งภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-12) -
การลดความยากจนจากรายจ่ายด้านสุขภาพ : ผลลัพธ์ของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-03)วัตถุประสงค์ที่สำคัญของการมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทยนอกจากเพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพที่จำเป็นของประชากรแล้ว การลดความเสี่ยงของครัวเรือนจากภาระค่าใช้จ่ายเมื่อเจ็บป่วยเป็นเป้าหมายที่สำคัญอีกประการหนึ่ง ... -
การใช้บริการผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน ในสถานพยาบาลประเภทต่างๆ ของประชากรไทย พ.ศ. 2558
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)ประเทศไทยได้เริ่มดำเนินโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าอย่างจริงจังตั้งแต่ พ.ศ. 2545 ส่งผลให้การเข้าใช้บริการผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในเพิ่มมากขึ้น การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้บริการด้านสุขภาพของประชากรไทยตามสิทธ ... -
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของคนไร้รัฐ/ไร้สัญชาติ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)ท่ามกลางการตีความเพื่อ (กีด)กันมนุษย์ไร้รัฐ (หรือไร้เลข 13 หลัก)/ไร้สัญชาติ ออกจากการเป็นผู้ทรงสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ใน พ.ศ.2551 โดยการสนับสนุนของสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย หรือ สวปก. ... -
ความครอบคลุมอย่างมีประสิทธิผลและการประยุกต์ใช้ในบริบทประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)ความครอบคลุมอย่างมีประสิทธิผล (effective coverage) เป็นการต่อยอดการวัดความครอบคลุมของบริการสุขภาพที่ใช้กันอย่างแพร่หลายมาแต่เดิมโดยคำนึงถึงคุณภาพและประโยชน์ของบริการเหล่านั้นร่วมด้วย ในช่วงยี่สิบปีที่ผ่านมา องค์การอนามัย ... -
ความจำเป็นทางสุขภาพที่ไม่ได้รับการตอบสนอง (Unmet health need) กรณีผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยในและบริการทันตกรรม ในประชากรไทย พ.ศ. 2558
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)ประเทศไทยบรรลุระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตั้งแต่ พ.ศ. 2545 ภายใต้ระบบประกันสุขภาพภาครัฐสามระบบหลัก ทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพที่จำเป็นได้มากขึ้น โดยไม่ต้องกังวลเรื่องภาระค่าใช้จ่ายสำหรับการรักษาพยาบาล ... -
ความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากของประชาชนไทย พ.ศ.๒๕๕๐
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-12) -
ความแตกต่างของต้นทุนการรักษาพยาบาลระหว่าง 3 ระบบหลักประกันสุขภาพสำหรับบริการผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในของสถานพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความแตกต่างของต้นทุนการรักษาพยาบาลด้วยสิทธิการรักษาพยาบาลของแต่ละระบบหลักประกันสุขภาพของรัฐ ได้แก่ โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าหรือบัตรทอง (universal coverage scheme, UCS) ... -
คุณภาพในระบบสุขภาพตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน : บทบาทของการวิจัยระบบและนโยบายสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)การพัฒนาหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและการพัฒนาระบบสุขภาพตั้งแต่บริการปฐมภูมิให้มีคุณภาพ เป็นที่ไว้วางใจจากประชาชน ไม่ใช่ระบบสุขภาพต้นทุนต่ำ ต้องมีกำลังคนเพิ่มขึ้นเกือบ 2 เท่า ข้อเสนอแนะเชิงระบบของการทำให้ระบบสุขภาพมีคุณภาพม ... -
ค่าใช้จ่ายที่พยากรณ์จากการใช้ยาราคาแพงของสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ : เปรียบเทียบกับหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-06)ยาซึ่งเป็นส่วนสำคัญของการรักษาพยาบาลผู้ป่วยนอกมีแบบแผนการใช้ในระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการที่แตกต่างจากระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า การศึกษานี้วิเคราะห์ข้อมูลอนุกรมเวลา 57 เดือน ระหว่างปี 2546 – 2550 และพยากรณ์การส ... -
บริการสุขภาพจำเป็นแต่ไม่ได้รับการตอบสนองบ่งบอกนัยอะไร
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06)ความจำเป็นต่อบริการสุขภาพ (health care need) ที่ไม่ได้รับการตอบสนอง (unmet) เริ่มปรากฏ เป็นตัวชี้วัดเปรียบเทียบระบบบริการสุขภาพระหว่างประเทศต่างๆ ในรายงานขององค์การเพื่อความร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจ (Organisation for ... -
ประกันสุขภาพถ้วนหน้า : เราเชื่อและเรามุ่งมั่น
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)การประชุมนานาชาติรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล พ.ศ. 2555 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 26-28 มกราคม 2555 ณ โรงแรมเซนทารา แกรนด์ กรุงเทพมหานคร ภายใต้หัวข้อ “ก้าวสู่ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า เร่งพัฒนาระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ” หรือ ... -
ผลกระทบด้านงบประมาณในการผนวกร้านยาเข้าสู่ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-06)การศึกษารูปแบบการทำงานร่วมกันระหว่างโรงพยาบาลกับร้านยาในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังโดยเฉพาะโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีวัตถุประสงค์เพื่อคาดการณ์ผลกระทบด้านงบประมาณ ที่กำหนดให้ร้านยาเป็นส่วนหนึ่งในการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน ...