แสดงรายการ 821-840 จาก 1352

    • ความรู้ เจตคติ และพฤติกรรมการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม-ทบทวนวรรณกรรม 

      เนติมา คูนีย์; Netima Cooney (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      ปัจจุบันมะเร็งเต้านมยังคงเป็นสาเหตุการตายในอันดับต้นๆ ของหลายประเทศ อย่างไรก็ตาม หากตรวจพบมะเร็งตั้งแต่ระยะเริ่มแรก พบว่ามีโอกาสหายและสามารถลดอัตราการตายจากโรคได้ ดังนั้น การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมจึงเป็นเรื่องสำคัญ ...
    • การดำเนินการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ในการนำมติสมัชาสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 1 ประเด็น 1.7 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับการจัดการสุขภาพและทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมไปสู่การปฏิบัติ ...
    • การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยในระบบสุขภาพ 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      เป้าหมายในการขยายแนวคิด การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research ; R2R) ให้ขจรขจายไปทั่วทั้งระบบบริการสุขภาพ เพื่อให้เกิดวัฒนธรรมของการใช้ความรู้ในการพัฒนางานของคนในวงการสุขภาพ โดยให้บุคลากรแต่ละคนสามารถแก้ปัญหาไ ...
    • ความสำคัญของการขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยงโรคสิลิโคสิส และโรคใยหิน 

      พรชัย สิทธิศรัณย์กุล; Pornchai Sithisarankul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      ประเทศไทยใช้สิลิคาและแร่ใยหินมานาน แต่มีรายงานการวินิจฉัยลิสิโคสิสและโรคมะเร็งเยื่อหุ้มปอดซึ่งอาจเกิดจากแร่ใยหินเพียงไม่กี่ราย การขึ้นทะเบียนกลุ่มโรคเสี่ยงโรคสิลิโคสิสและโรคเกี่ยวกับแร่ใยหิน เป็นจุดเริ่มต้นสำคัญของการเฝ้ ...
    • การนอนกรน 

      ปารยะ อาศนะเสน; Paraya Assanasen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การนอนกรนเป็นปัญหาและความผิดปกติของการนอนหลับที่พบบ่อยในเวชปฏิบัติ เป็นอาการที่บ่งบอกถึงการอุดกั้นทางหายใจส่วนบน ซึ่งมีความสัมพันธ์โดยตรงต่อภาวะหายใจหยุดขณะหลับ ภาวะหายใจหยุดขณะหลับนี้เป็นภาวะที่มีการอุดกั้นในทางหายใจรุนแรงมาก ...
    • การป้องกันก่อนจะเป็นมะเร็งตับ 

      สุวารี เจริญมุขยนันท; Suwaree Charoenmukayananta (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      มะเร็งเซลล์ตับ (hepatocellular carcinoma : HCC) เป็นสาเหตุสำคัญของการเสียชีวิตจากมะเร็งเป็นอันดับ 3 ของโลก และเป็นสาเหตุทำให้คนทั่วโลกเสียชีวิตประมาณ 600,000 คนต่อปี มีปฏิบัติการสูงในประเทศแถบเอเชียและประเทศที่กำลังพัฒนา ...
    • การอภิบาลระบบสุขภาพแห่งชาติของประเทศไทย หลังการประกาศใช้ พ.ร.บ. สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550: กรอบแนวคิด พัฒนาการ และข้อเสนอเพื่อการพัฒนา 

      วิรุฬ ลิ้มสวาท; Wirun Limsawart (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสังคมและการปฏิรูปโครงสร้างระบบสุขภาพในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมา ได้สร้างความท้าทายใหม่ๆ ในการอภิบาลระบบสุขภาพของประเทศไทย ภายหลังการตั้งสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ในปี พ.ศ.2535 มีการจัดตั้ ...
    • การใช้ยาสมุนไพรทดแทนยาแผนปัจจุบัน ในโรงพยาบาลศูนย์ลำปาง และโรงพยาบาลชุมชนจังหวัดลำปาง ปี 2545-2549 

      ไพรัตน์ หริณวรรณ; วรรณา ดำเนินสวัสดิ์; ประยุทธ ศรีกระจ่าง; นุชนภางค์ มณีวงศ์; Pairat Harinawan; Wanna Damnoenssawat; Prayuth Srikajang; Nuchnapang Maneewong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การศึกษาเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบมูลค่าการใช้ยาสมุนไพร ทดแทนยาแผนปัจจุบันในการรักษาโรคหรือกลุ่มอาการ 5 กลุ่มอาการหลัก ในช่วงเวลา 5 ปี (ปีงบประมาณ 2545-2549) ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2550 – สิงหาคม 2551 ...
    • การพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยเป็นทีม โดยการประชุมวิชาการแบบบูรณาการ โรงพยาบาลสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา พ.ศ. 2551 

      นิลเนตร วีระสมบัติ; ศิริรัตน์ มีวาสนา; รพีพรรณ มีสูงเนิน; เบญจมา เลาหพูนรังษี; ชาติชัย ดวงดีเด่น; วีณา มงคลพร; วสันติ ดิสกุล; นภัค ด้วงจุมพล; ศุภฤกษ์ สัทธาพงศ์; วรรณกร สำราญวานิช; ชไมพร มณีรัตนพันธ์; จำเนียร ตัณฑจรรยา; ประภัสสร ศักดาณรงค์; วราภรณ์ กุลสูงเนิน; วาสนา แสนศรีแก้ว; เพ็ญปภา ชัยรัตน์; Nilnetr Veerasombat; Sirirat Meevasna; Rapeephan Meesongnoen; Benjama Laohapoolrangsi; Chartchai Duangdeeden; Veena Mongkolporn; Vasant Diskul; Napak Duangchumphol; Suparerk Satthaphong; Wannakorn Samranvanij; Chamaiporn Maneerataphan; Chamnien Tantajanya; Prabhatsorn Sakdanarong; Waraporn Kulsoongnern; Wasana Sansrikaew; Penpabha Chairat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การวิจัยเชิงปฏิบัติการนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อแก้ปัญหาความเสี่ยงทางเวชกรรมในการดูแลผู้ป่วยเป็นทีมระหว่างสหสาขาวิชาชีพ ผู้วิจัยและผู้ร่วมวิจัยเป็นผู้ปฏิบัติงานประจำในโรงพยาบาล ได้แก่ ผู้อำนวยการ แพทย์ เภสัชกร พยาบาลวิชาชีพ ...
    • สถานการณ์ ศักยภาพ และความพร้อมของไตรภาคี ในการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนในพื้นที่ 12 ตำบล 

      สุพัตรา ศรีวณิชชากร; เกษม เวชสุทธานนท์; วินัย ลีสมิทธิ์; ทัศนีย์ ญาณะ; อรอนงค์ ดิเรกบุษราคม; ภัทระ แสนไชยสุริยา; รวีวรรณ เผ่ากัณหา; พงค์เทพ สุธีรวุฒิ; สิรินาฏ นิภาพร; พฤกษา บุกบุญ; Supattra Srivanichakorn; Kasem Vechasuthanon; Winai Leesmith; Tassanee Yana; Onanong Direkbussarakom; Pattara Sanchaisuriya; Raviwan Paokanha; Pongtep Suthirawuth; Sirinat Nipaporn; Praksa Bookboon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความพร้อมและศักยภาพขององค์กรปกครองท้องถิ่น ชุมชน และเครือข่ายหน่วยบริการสาธารณสุขในระดับปฐมภูมิ ซึ่งเป็นไตรภาคีในการทำงานด้านสุขภาพของพื้นที่ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาแนวทางและบทบาทการร่วม ...
    • สุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่รอบเขตอุตสาหกรรมปิโตรเคมี 

      จันทร์ทิพย์ อินทวงศ์; สุนทร เหรียญภูมิการกิจ; ชาติวุฒิ จำจด; นัยนา พันโกฏิ; Chanthip Intawong; Sunthorn Rheanpumikankit; Chattiwut Chamchod; Naiyana Phankote (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาพรรณนาภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสุขภาพ ระดับคุณภาพชีวิต และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชนกลุ่มตัวอย่าง 943 คน ที่อาศัยอยู่รอบเขตประกอบการอุตสาหกรรมปิโตรเคมีแ ...
    • ความเป็นธรรมทางสุขภาพกับสิทธิมนุษยชน: กรณีชาวเขาไร้สัญชาติในประเทศไทย 

      บุญมา สุนทราวิรัตน์; ณรงค์ศักดิ์ หนูสอน; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; ชัยยง ขามรัตน์; Boonma Soontaraviratana; Narongsak Noosorn; Supasit Pannarunothai; Chaiyong Kamrat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การวิจัยผสมผสานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินระดับความเป็นธรรมทางสุขภาพในแนวคิดสิทธิมนุษยชน เพื่อหาแนวทางลดช่องว่างความเป็นธรรมทางสุขภาพระหว่างกลุ่มคนไทยพื้นราบ,กลุ่มชาวเขาสัญชาติไทย และกลุ่มชาวเขาไร้สัญชาติ รวม 789 คนใน ...
    • โลกร้อนกับโรคระบาด 

      สรันยา เฮงพระพรหม; Sarunya Hengpraprom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ยุคโลกาภิวัตน์และการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศเป็นปรากฏการณ์สำคัญที่ทำให้สิ่งต่างๆ บนโลกนี้เปลี่ยนไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาวะโลกร้อนที่นำมาซึ่งปรากฏการณ์หลายๆ อย่างที่ส่งผลกระทบต่อชีวิตประจำวันของมนุษย ...
    • การจัดระบบการแพทย์ฉุกเฉินตามเจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 

      สุรจิต สุนทรธรรม; Surajit Sunthorntham (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      องค์ประกอบของระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ต้องมีการจัดองค์กร การรวมตัว และการประสานงาน เพื่อการดูแลผู้ป่วยให้ดีที่สุด คณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน (กพฉ.) และแพทย์ผู้อำนวยการระบบการแพทย์ฉุกเฉินต้องทำให้มั่นใจว่า องค์ประกอบที่จำเป็นแต ...
    • องค์กรธุรกิจเพื่อสังคม 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      องค์กรธุรกิจเพื่อสังคมเป็นองค์กรที่นำจุดเด่นขององค์กรธุรกิจมาผนวกกับเป้าหมายเพื่อสังคมขององค์กรการกุศลสาธารณะต่างๆ นั่นคือ จะเน้นประสิทธิภาพในการประกอบกิจการให้สามารถทำกำไรได้โดยไม่ต้องพึ่งพาการบริจาค แต่ผลกำไรจะมุ่งเพื่ ...
    • Global Warming VS. Climate Change 

      Somchai Bovornkitti; สมชัย บวรกิตติ (Health Systems Research Institute, 2552)
    • Global Warming: An Australian Perspective 

      Toussaint,L.F. (Health Systems Research Institute, 2552-09)
      There is already an abundance of publications on climate change and global warming. Most, but not all, support the theory that carbon dioxide emissions are the prime cause. There is anecdotal and some scientific evidence ...
    • การศึกษาว่าด้วยมิติทั้ง 4 ของสุขภาพ 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      มีความพยายามเสนอให้เพิ่ม “สุขภาวะทางวิญญาณ” เข้าในคำจำกัดความคำว่าสุขภาพขององค์การอนามัยโลกอย่างเป็นทางการ มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2526 โดยสมาชิกจากประเทศในภูมิภาคเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออก ข้อเสนอดังกล่าวมีทั้งผู้สนับสนุนและคัดค้าน ...
    • ผู้นิพนธ์ร่วม 

      สมชัย บวรกิตติ; Somchai Bovornkitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
    • พจนานุกรมศัพท์สิ่งแวดล้อม อักษร M 

      ราชบัณฑิตยสถาน. คณะกรรมการจัดทำพจนานุกรมศัพท์สิ่งแวดล้อม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)