Now showing items 541-560 of 1344

    • ศักยภาพขององค์กรท้องถิ่นในการจัดการดูแลผู้สูงอายุทุพพลภาพในชุมชน 

      กวินารัตน์ สุทธิสุคนธ์; สุพัตรา ศรีวณิชชากร; จุฑาธิป ศีลบุตร; เกรียงศักดิ์ ธรรมอภิพล; สมชาย วิริภิรมย์กูล; Kawinarat Suthisukon; Supattra Srivanichakorn; Jutatip Sillabutra; Kriengsak Thamma-Aphiphol; Somchai Viripiromgool (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-06)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาศักยภาพขององค์กรท้องถิ่นในการจัดการดูแลผู้สูงอายุทุพพลภาพในชุมชน ปัญหาอุปสรรค ความต้องการของผู้สูงอายุในชุมชนและข้อเสนอแนะ โดยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ผลการวิจัยพบว่าองค์กรท้องถิ ...
    • การกลับไปประกอบอาชีพของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองภายหลังได้รับการรักษาที่สถาบันประสาทวิทยา 

      ทิพยรัตน์ ศฤงคารินกุล; พรทิพย์พา ธิมายอม; Tipyarat Saringcarinkul; Pornthippa Thimayom (2557-06)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอัตราและปัจจัยต่อการกลับไปประกอบอาชีพของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองภายหลังการบำบัดและฟื้นฟูสมรรถภาพจากสถาบันประสาทวิทยา เป็นการศึกษาเชิงพรรณนา ทำการศึกษาในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองจำนวน 198 ...
    • HSRI-FORUM ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 : วิกฤติ NCDs ภาระโรค วาระชาติ 

      สมเกียรติ วัฒนศิริชัยกุล; Somkiat Wattanasirichaigoon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-02-28)
      เกาะติดไปกับกระแส “สุขภาพ” ของคนไทย ที่ต้องเผชิญกับภัยคุกคามสุขภาพ จากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ภัยเงียบจากพฤติกรรมเสี่ยงจากการบริโภคและการดำรงงชีวิตในสังคมปัจจุบัน ที่คร่าชีวิตคนไทยในทุกช่วงอายุและเพศ นอกจากนี้ยังสะท้อนค่าใช ...
    • HSRI-FORUM ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 : ก้าวใหม่ สวรส. สู่ทศวรรษที่ 3 ระบบสุขภาพ 

      สมเกียรติ วัฒนศิริชัยกุล; Somkiat Wattanasirichaigoon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12-31)
      HSRI-FORUM ฉบับนี้ ถือเป็นวาระพิเศษที่ทาง สวรส. ได้ประมวลข้อมูล ยุทธศาสตร์การเดินทางขององค์กรอย่างคร่าวๆ ผลงานสำคัญ ตลอดจนผลลัพธ์รูปธรรมจากการดำเนินงาน มารวบรวมเรียบเรียงไว้เพื่อร่วมทบทวนก่อน สวรส. จะก้าวเดินในช่วงต่อไป ...
    • ประสิทธิภาพของคลินิกทันตกรรมนอกเวลาราชการโรงพยาบาลท่าวุ้ง 

      วราภรณ์ อินทร์พงษ์พันธุ์; Waraporn Inpongpan; เพ็ญแข ลาภยิ่ง; Phenkhae Lapying (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-03)
      การศึกษาเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ประสิทธิภาพรายปีของคลินิกทันตกรรมนอกเวลาราชการในโรงพยาบาลท่าวุ้ง ดัชนีประสิทธิภาพในการศึกษาคือ ต้นทุนดำเนินการต่อหน่วยบริการ และอัตราส่วนค่าบริการที่เรียกเก็บต่อต้นทุนดำเนินการ ...
    • การประเมินคุณภาพการบริการของหน่วยบริการปฐมภูมิ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 

      เลิศเชาว์ สุทธาพานิช; Lertchoa Suttapanich (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-03)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินคุณภาพการบริการ การจัดบริการ การจัดกลุ่มตามระดับการบริการ และปัจจัยที่ส่งผลต่อกลุ่มคุณภาพการบริการของหน่วยบริการปฐมภูมิ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ หัวหน้าหน่วยและผู้ปฏิบ ...
    • ภาวะผู้นำเส้นทางสู่เป้าหมาย และการรับรู้ปัจจัยเชิงสถานการณ์ที่มีผลต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงานของผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 3 

      วุฒิพันธ์ ทานะมัย; Wuttiphan Tanamai; ภูษิตา อินทรประสงค์; Bhusita Intaraprasong; จุฑาธิป ศีลบุตร; Jutatip Sillabutra (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-03)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงานของผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขตตรวจราชการสาธารณสุข ที่ 3 เก็บข้อมูลจากผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน 170 คน ...
    • การตายที่หลีกเลี่ยงได้ในประเทศไทย พ.ศ. 2552 

      ขนิษฐา กู้ศรีสกุล; Khanitta Kusreesakul; กาญจนาวดี ประสิทธิสา; Kanjanawadee Prasittisa; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Kanitta Bundhamcharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-03)
      การตายที่หลีกเลี่ยงได้เป็นตัวชี้วัดหนึ่งที่สำคัญในการประเมินคุณภาพการรักษาพยาบาลหรือการพัฒนานโยบายสุขภาพของประชากรที่ใช้อย่างแพร่หลายในกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว โดยแสดงการตายจากสาเหตุที่ไม่ควรจะเกิดขึ้น หากมีมาตรการทางสุขภ ...
    • การพัฒนาการดูแลคนพิการในชุมชนโดยใช้ข้อมูลสมรรถนะคนพิการ 

      นริสา วงศ์พนารักษ์; Narisa Wongpanarak; ศิรินาถ ตงศิริ; Sirinart Tongsiri; บังอร กุมพล; Bungon Kumphon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-03)
      การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมผ่านแนวคิดฟื้นฟูสมรรถภาพโดยชุมชนในการขับเคลื่อนงาน มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการดูแลคนพิการในชุมชน โดยใช้ข้อมูลสมรรถนะคนพิการร่วมกับการศึกษาความรู้และทัศนคติต่อการดูแลคนพิการ การดำเนินการมี ...
    • การรับรู้และประสบการณ์ของผู้ป่วยในการใช้บริการรักษาพยาบาลตามนโยบาย เจ็บป่วยฉุกเฉิน รักษาทุกที่ ทั่วถึงทุกคน 

      วรรณภา บำรุงเขต; Wannapha Bamrungkhet; สุธีรดา ฉิมน้อย; Sutheerada Chimnoi; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-03)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้และประสบการณ์ผู้ป่วยในการใช้บริการรักษาพยาบาลตามนโยบาย “เจ็บป่วยฉุกเฉิน รักษาทุกที่ ทั่วถึงทุกคน” โดยการสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ ด้วยแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างแบบย้อนหลัง สุ่มสัมภาษณ์ด้วยวิธี ...
    • Effects of Different Payment Schemes on Actual Inpatient Expenditures with Schizophrenia 

      Vatinee Sukmak; วาทินี สุขมาก; Jaree Thongkam; จารี ทองคำ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-03)
      This study analyzes actual inpatient expenditures by different health insurances for schizophrenic patients in Thailand. A total of 3,896 schizophrenia admissions at Khonkaen Rajanagarindra Psychiatric Hospital between ...
    • Patterns of Outpatient Services and Charge for Patients Enrolled in the Universal Health Coverage Scheme 

      คเณศ สัมพุทธานนท์; Kanet Sumputtanon; นิลวรรณ อยู่ภักดี; Nilawan Upakdee; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-03)
      Background: In 2011, the Universal Health Coverage (UHC), which is a public health insurance scheme, covered approximately 48.3 million (74.3%) of the Thai population. This study aims to examine the patterns of outpatient ...
    • ผลกระทบของข้อตกลงยอมรับร่วมของบุคลากรสาธารณสุขภายใต้กรอบอาเซียน ต่อระบบสุขภาพของประเทศไทย: การวิเคราะห์ประสบการณ์จากสหภาพยุโรป 

      ชาญณรงค์ สังข์อยุทธ; Channarong Sungayuth; ชะเอม พัชนี; Cha-aim Pachanee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-03)
      ประเทศสมาชิกอาเซียนได้ลงนามในข้อตกลงยอมรับร่วมของวิชาชีพพยาบาล เมื่อเดือนธันวาคม ๒๕๔๙ และลงนามในข้อตกลงยอมรับร่วมของวิชาชีพแพทย์ และวิชาชีพทันตแพทย์ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๒ อันถือเป็นความเปลี่ยนแปลงที่สำคัญต่อระบบสุขภาพในภูมิภาค ...
    • การจ่ายค่าบริการตามระบบกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วมของประเทศไทยและต่างประเทศ 

      อาณัติ วรรณศรี; Arnat Wannasri; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-03)
      การศึกษานี้เป็นการทบทวนวรรณกรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับการใช้ระบบกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม (Diagnosis Related Group: DRG) ซึ่งเป็นระบบแบ่งกลุ่มผู้ป่วยแบบเฉียบพลัน พัฒนาโดย Robert Fetter และคณะ ที่มหาวิทยาลัยเยล ...
    • ต้นทุนประสิทธิผลของการตรวจคัดกรองผู้มีปัญหาการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ระดับประชากรในประเทศไทย 

      วริทธิ์ จันทรสถาพรจิต; Varit Chantarastapornchit; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)
      การดื่มแอลกอฮอล์เป็นปัจจัยสำคัญต่อภาระโรคในประชากรไทย โดยเฉพาะประชากรเพศชาย การคัดกรองผู้มีปัญหาจากการดื่มแอลกอฮอล์เพื่อให้คำแนะนำอย่างสั้นอาจช่วยลดปัญหานี้ได้ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ ...
    • การตรวจคัดกรองสุขภาพที่เหมาะสมสำหรับสังคมไทย 

      พัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ; Patsri Srisuwan; ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; Tanunya Koopitakkajorn; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ลี่ลี อิงศรีสว่าง; Lily Ingsrisawang; เดช เกตุฉ่ำ; Det Kedcham; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)
      การตรวจคัดกรองสุขภาพเป็นการซักถามหรือตรวจเบื้องต้น เพื่อค้นหาความเสี่ยงหรือโรคในประชากรสุขภาพดี เพื่อป้องกัน ลดความเสี่ยงหรือภาวะแทรกซ้อนจากโรค อย่างไรก็ตาม การกำหนดชุดสิทธิประโยชน์ด้านการตรวจคัดกรองสุขภาพหลายรายการในระบ ...
    • ความคุ้มค่าของการตรวจคัดกรองโรคไวรัสตับอักเสบบีในประเทศไทย 

      นริสา ตัณฑัยย์; Narisa Tantai; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; Pitsaphun Werayingyong; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)
      โรคไวรัสตับอักเสบบีพบได้บ่อยในประชากรไทย เป็นสาเหตุสำคัญของตับแข็ง ตับวาย มะเร็งตับ ส่งผลต่อ คุณภาพชีวิต ค่าใช้จ่าย และทำให้ชีวิตสั้นลง ปัจจุบันไม่มีแนวทางคัดกรองระดับประชากรที่ชัดเจนและไม่มีการวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการ ...
    • การคัดกรองวัณโรคระดับประชากรในประเทศไทย 

      พัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ; ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; ศิตาพร ยังคง; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Patsri Srisuwan; Tanunya Koopitakkajorn; Pritaporn Kingkaew; Sitaporn Youngkong; Sripen Tantivess; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)
      วัณโรคเป็นโรคติดต่อร้ายแรง มีอุบัติการณ์และความชุกสูง ปัจจุบันยังไม่มีแนวทางการคัดกรองระดับประชากรในประเทศไทย เว้นแต่การตรวจภาพรังสีทรวงอกที่บรรจุในโปรแกรมการตรวจสุขภาพประจำปีของสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ ...
    • ประสิทธิผลและความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของมาตรการคัดกรองสุขภาพเพื่อป้องกันอุบัติเหตุจราจรทางถนน 

      ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; กุณฑิกา ดำรงปราชญ์; Kuntika Dumrongprat; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)
      อุบัติเหตุทางถนนก่อให้เกิดความสูญเสียต่อสุขภาวะ ชีวิต และเศรษฐกิจเป็นลำดับต้นของประเทศไทย แต่ปัจจุบันไม่มีแนวทางประเมินความพร้อมด้านสุขภาพของผู้ขับขี่ การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนประสิทธิผลและความคุ้มค่าของนโยบ ...
    • แนวทางตรวจคัดกรองภาวะทุพโภชนาการระดับประชากรในประเทศไทย 

      สุทธิษา สมนา; Sutthisa Sommana; ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; Tanunya Koopitakkajorn; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)
      บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ด้านการคัดกรองทางสุขภาพระดับประชากรในประเทศไทยมีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนวรรณกรรม รวมถึงนโยบาย และเครื่องมือต่างๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ สำหรับการคัดกรองภาวะทุพโภชนากา ...