Now showing items 561-580 of 1344

    • แนวทางการคัดกรองโรคหืดระดับประชากรในประเทศไทย 

      พัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ; Patsri Srisuwan; ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; Tanunya Koopitakkajorn; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)
      โรคหืดเป็นโรคที่มีอุบัติการณ์ ความชุกและภาระโรคสูงในประเทศไทย ในปัจจุบันยังไม่มีแนวทางการคัดกรองโรคหืดระดับประชากรในประเทศไทยที่ชัดเจน บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนแนวทางการคัดกรองโรคหืดระดับประชากร โดยแบ่งการดำเนินงานเป็น ...
    • รูปแบบบริการให้คำปรึกษาและตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มประชากรทั่วไป 

      วรัญญา รัตนวิภาพงษ์; Waranya Rattanavipapong; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)
      องค์กรในต่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับเอชไอวี/เอดส์ได้ออกคำแนะนำสำหรับการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มประชากรทั่วไปจนถึงอายุ ๖๕ ปี เพื่อแก้ปัญหาและควบคุมสถานการณ์โรคเอดส์ แต่อุปสรรคและข้อท้าทาย คือ การถูกตีตรา การถูกแบ่งแยก ...
    • ทัศนะต่อการตรวจคัดกรองโรค 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)
    • การประเมินการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกระดับประชากรในประเทศไทยด้วยแบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์ 

      นัยนา ประดิษฐ์สิทธิกร; Naiyana Praditsitthikorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)
      มะเร็งปากมดลูกก่อให้เกิดความสูญเสียในสตรีไทย ภารกิจที่ท้าทายผู้บริหาร คือ การจัดสรรทรัพยากรที่มีจำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการป้องกันและควบคุมโรค การศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความคุ้มค่าของมาตรการปัจจุบัน คือ ...
    • การคัดกรองโรคมะเร็งท่อน้ำดี ในประชากรไทย 

      สุธาสินี คำหลวง; Suthasinee Kumluang; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)
      โรคมะเร็งท่อน้ำดีเป็นโรคที่พบมากในประชากรไทย โดยมีอุบัติการณ์สูงเมื่อเทียบกับประเทศอื่น โดยเฉพาะในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สาเหตุส่วนใหญ่มาจากการติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับ ปัจจุบันยังขาดหลักฐานเชิงประจักษ์ถึงประโยชน์ของการคัดกรอ ...
    • ต้นทุนอรรถประโยชน์ของการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยเครื่องแมมโมแกรม 1 ครั้งในชีวิตของผู้หญิงไทย 

      ธัญญรัตน์ อโนทัยสินทวี; Thunyarat Anothaisintawee; นริสา ตัณฑัยย์; Narisa Tantai; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)
      มะเร็งเต้านมเป็นมะเร็งที่พบได้บ่อยที่สุดในผู้หญิงไทย อุบัติการณ์ คือ 25.6 คนต่อผู้หญิงไทย 100,000 คนปัจจุบันมีเพียงการตรวจคัดกรองด้วยเครื่องแมมโมแกรมที่มีหลักฐานยืนยันว่าลดอัตราการตายจากมะเร็งเต้านม แต่ด้วยข้อจำกัดด้านงบประมาณ ...
    • ประสิทธิผลและความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจคัดกรองมะเร็งต่อมลูกหมากในกลุ่มประชากรทั่วไป 

      คัคนางค์ โตสงวน; Kakanang Tosanguan; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)
      มะเร็งต่อมลูกหมากพบบ่อยในชายสูงอายุแถบประเทศตะวันตก การตรวจคัดกรองมี ๒ วิธีหลัก คือ การตรวจทางทวารหนัก และการตรวจเลือดหาสารชี้บ่งมะเร็งต่อมลูกหมาก PSA ปัจจุบันยังมีข้อถกเถียงเรื่องประโยชน์ โทษ และความคุ้มค่าของการคัดกรอง ...
    • แนวทางการคัดกรองโรคไตอักเสบและนิ่วในไตในประชากรไทย 

      พัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ; Patsri Srisuwan; ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; Tanunya Koopitakkajorn; เดช เกตุฉ่ำ; Det Kedcham; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)
      โรคไตอักเสบและโรคนิ่วในไตเป็นโรคที่พบบ่อยในคนไทยที่อาจก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนเรื้อรังและรุนแรง แต่ยังไม่มีแนวทางคัดกรองระดับประชากรที่ชัดเจน บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอแนวทางการคัดโรคไตอักเสบและโรคนิ่วในไตระดับประ ...
    • แนวทางการคัดกรองภาวะโลหิตจางระดับประชากรในประเทศไทย 

      ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; Tanunya Koopitakkajorn; พัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ; Patsri Srisuwan; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ณภัชชา วงศ์ฉายา; Napatcha Wongchaya; สุพัชรินทร์ สุวรรณเกิด; Supatcharin Suwannakerd; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)
      ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กส่งผลกระทบต่อจิตใจ การเคลื่อนไหว และพฤติกรรม โดยเฉพาะในเด็กทารกแรกเกิดจนถึงอายุ ๒ ปี การรักษาด้วยการให้ธาตุเหล็กในภายหลังช่วยให้ระดับธาตุเหล็กเพิ่มขึ้น แต่ความล่าช้าของพัฒนาการยังคงอยู่ ...
    • แนวทางการคัดกรองโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิด Atrial Fibrillation ระดับประชากรในประเทศไทย 

      พัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ; Patsri Srisuwan; ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; Tanunya Koopitakkajorn; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)
      โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิด Atrial Fibrillation (AF) เป็นภาวะที่พบบ่อยที่สุดในภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะทั้งหมด และก่อให้เกิดผลแทรกซ้อนร้ายแรง ปัจจุบันยังไม่มีแนวทางการคัดกรองระดับประชากรในประเทศไทย และไม่มีการวิเคราะห์ถึงประโยชน์ ...
    • การประเมินความเสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง 

      ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; Tanunya Koopitakkajorn; พัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ; Patsri Srisuwan; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)
      โรคหัวใจขาดเลือดและโรคหลอดเลือดสมอง เป็นปัญหาทางสุขภาพที่สำคัญเป็นลำดับต้นของประเทศไทย การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนความรู้และค้นหามาตรการคัดกรองโรคหลอดเลือดหัวใจและโรคหลอดเลือดสมองในระดับประชากร โดยรวบรวมข้อมูลแนว ...
    • การจัดลำดับความสำคัญของโรคหรือปัญหาสุขภาพที่ควรคัดกรองในประชากรไทย 

      ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; พัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ; Patsri Srisuwan; ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; Tanunya Koopitakkajorn; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ลี่ลี อิงศรีสว่าง; Lily Ingsrisawang; เดช เกตุฉ่ำ; Det Kedcham; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Kanitta Bundhamcharoen; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)
      การคัดกรองทางสุขภาพระดับประชากรเป็นการตรวจหาโรคหรือปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคในประชากรที่สุขภาพดี เพื่อป้องกันโรคหรือรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มต้น การคัดกรองบางรายการในชุดสิทธิประโยชน์ด้านการคัดกรองทางสุขภาพขาดหลักฐานเรื่องประ ...
    • คุณประโยชน์และข้อพึงระวังของการคัดกรองทางสุขภาพ 

      รัตนวดี ณ นคร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)
    • HSRI-FORUM ปีที่ 2 ฉบับที่ 6 : ปรับโฉมสาธารณสุข เคลื่อนแนวคิดเขตสุขภาพ 

      สมเกียรติ วัฒนศิริชัยกุล; Somkiat Wattanasirichaigoon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)
      HSRI Forum ในรายงานพิเศษฉบับนี้ ติดตามการปรับเปลี่ยนบทบาทตามนโยบายการปฏิรูป ระบบสุขภาพในยุคของ นพ.ประดิษฐ สินธวณรงค์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข เพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ ให้เท่าทันต่อสถานการณ์ในสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ...
    • HSRI-FORUM ปีที่ 2 ฉบับที่ 5 : ร่างภาพอนาคต ก้าวใหม่ธรรมนูญระบบสุขภาพฯ 

      สมเกียรติ วัฒนศิริชัยกุล; Somkiat Wattanasirichaigoon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-08)
      ฉบับนี้ มาพร้อมกับช่วงของการเปลี่ยนผ่านสำคัญที่จะเกิดในปี 2557 นี้ ซึ่งเป็น วาระที่ “ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2552” มาบรรจบครบ 5 ปี ที่จะต้องมีการทบทวนและปรับปรุงธรรมนูญตามที่ได้กำหนดไว้ใน พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ ...
    • HSRI-FORUM ปีที่ 2 ฉบับที่ 4 : ผลักดัน–พัฒนา ก้าวสู่ 1 ทศวรรษ วิจัย R2R 

      สมเกียรติ วัฒนศิริชัยกุล; Somkiat Wattanasirichaigoon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-07)
      ฉบับนี้เราขอพาท่านย้อนไปสู่บรรยากาศ การประชุม แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย (R2R) ครั้งที่ 6 “ร่วมสร้างวัฒนธรรมR2R สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน” ที่จัดขึ้นเมื่อราวต้นเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา ณ อิมแพ็คฟอรั่ม เมืองทองธานี ...
    • HSRI-FORUM ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 : วิกฤติ P4P พลังปัญญาหาทางออก 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      ฉบับนี้ได้หยิบ ประเด็นการจ่ายค่าตอบเเทนตามผลปฏิบัติงาน หรือ P4P มานำเสนอในมุมมองทางวิชาการให้ทุกท่านทราบในรายงานฉบับพิเศษ โดย สวรส. ได้จัดเวทีวิชาการ “วิกฤติ P4P ระดมพลังปัญญา ร่วมหาทางออก”ขึ้น เพื่อให้เกิดการเเลกเปลี่ยน ...
    • HSRI-FORUM ปีที่ 2 ฉบับที่ 2: 1 ปี รักษาฉุกเฉิน มาตรฐานเดียว 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-05)
      HSRI FORUM ฉบับนี้ มีสาระความรู้ในแวดวงระบบสุขภาพ มาฝากเช่นเคย โดยฉบับนี้ได้ถือเอาวาระครบรอบ 1 ปีของการประกาศนโยบาย “เจ็บป่วยฉุกเฉินถึงแก่ชีวิต ไม่ถามสิทธิ ใกล้ที่ไหน ไปที่นั่น” มาเป็นประเด็นของการนำเสนอนโยบายนี้นับเป็นก ...
    • HSRI-FORUM ปีที่ 2 ฉบับที่ 1: จัดการความรู้ สู่ระบบสุขภาพที่เป็นธรรม : พลังความรู้ สู่การเขยื้อนภูเขา 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-04)
      เรื่อง“ความเป็นธรรม” ในระบบสุขภาพเป็นประเด็นที่สังคมไทยสนใจ มานาน สวรส.ได้ทำงานสนับสนุนประเด็นนี้อย่างต่อเนื่อง ฉบับนี้นำเรื่อง ราวหลายด้านที่เกี่ยวข้องมานำเสนอ ในคอลัมน์ต้นกล้าความรู้สู่ต้นแบบ สุขภาพ นำต้นแบบแนวคิด ...
    • HSRI-FORUM ปีที่ 2 ฉบับพิเศษ : สวรส. จัดการความรู้ พัฒนาระบบสุขภาพไทย ในบริบทที่เปลี่ยนแปลง 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)
      HSRI Forum ฉบับพิเศษนี้ เราได้เปิดพื้นที่แนะนำเครือ สถาบันทั้ง 7 แห่งของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) และแผนงาน วิจัยของ สวรส. ที่ มีส่วนร่วม “สร้าง – จัดการความรู้” เพื่อพัฒนาระบบ สุขภาพไทย…ในบริบทที่เปลี่ยนแปลง ...